จารึกโคกสวายเจก : จารึกภาษาบาลีในอาณาจักรเขมรโบราณ

Main Article Content

พระมหากวีศักดิ์ ญาณกวิ (วาปีกุลเศรษฐ์)
ทรงธรรม ปานสกุณ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลจารึกโคกสวายเจก (K.754) จากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และศึกษาสารัตถะ พร้อมทั้งการใช้ภาษาบาลี ผลการศึกษาพบว่า จารึกหลักนี้เป็นจารึกหลักสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่สันนิษฐานว่าคงจะตั้งมั่นแล้วในรัชสมัยของพระเจ้าศรีนทรวรมัน (พ.ศ. 1839-1852) เนื้อความในจารึกเริ่มด้วยบทประณามพจน์นอบน้อมต่อพระรัตนตรัย และบอกถึงศักราชที่พระเจ้าศรีนทรวรมันขึ้นครองราชย์ และพระราชกรณียกิจบางประการของพระองค์ ในส่วนของการใช้ภาษาบาลี พบว่ามีการใช้สังเกตสังขยาคือคำศัพท์สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำเรียกตัวเลขทั่วไปเพื่อบอกศักราช และมีการแต่งชื่อเฉพาะของภาษาสันสกฤตและภาษาเขมรโบราณให้เป็นภาษาบาลี

Article Details

บท
บทความวิชาการ
Author Biography

พระมหากวีศักดิ์ ญาณกวิ (วาปีกุลเศรษฐ์) , มหาวิทยาลัยศิลปากร

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อแปลจารึกโคกสวายเจก (K.754) จากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และศึกษาสารัตถะ พร้อมทั้งการใช้ภาษาบาลี ผลการศึกษาพบว่า จารึกหลักนี้เป็นจารึกหลักสำคัญที่แสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของพุทธศาสนานิกายเถรวาทที่สันนิษฐานว่าคงจะตั้งมั่นแล้วในรัชสมัยของพระเจ้าศรีนทรวรมัน (พ.ศ. 1839-1852) เนื้อความในจารึกเริ่มด้วยบทประณามพจน์นอบน้อมต่อพระรัตนตรัย และบอกถึงศักราชที่พระเจ้าศรีนทรวรมันขึ้นครองราชย์ และพระราชกรณียกิจบางประการของพระองค์ ในส่วนของการใช้ภาษาบาลี พบว่ามีการใช้สังเกตสังขยาคือคำศัพท์สัญลักษณ์ที่ใช้แทนคำเรียกตัวเลขทั่วไปเพื่อบอกศักราช และมีการแต่งชื่อเฉพาะของภาษาสันสกฤตและภาษาเขมรโบราณให้เป็นภาษาบาลี

References

กังวล คัชชิมา. “มุมมองด้านพิธีกรรม ศาสนา และชาตินิยม ในประวัติศาสตร์เขมร จากจารึกซับ บาก”, วารสารดำรงวิชาการ, ปีที่ 6 ฉบับที่ 2 (กรกฎาคม-ธันวาคม 2550), 126-144.
จิโต มาดแลน. ประวัติเมืองพระนครของขอม. แปลโดย หม่อมเจ้าสุภัทรดิศ ดิศกุล. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มติชน, 2543.
เฉลิม ยงบุญเกิด. บันทึกว่าด้วยขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจินละ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
ชัยณรงค์ กลิ่นน้อย. “การใช้สังเกตสังขยาในจารึกกัลยาณี” Veridian E-Journal Silpakorn University ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, ปีที่ 8 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2558), 2607-2615.
เดวิด แซนด์เลอร์. ประวัติศาสตร์กัมพูชา. แปลโดย พรรณงาม เง่าธรรมสาร สดใส ขันติวรพงศ์ และวงเดือน นาราสัจจ์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และ มนุษยศาสตร์, 2546.
พระคันธสาราภิวงศ์. วุตโตทยมัญชรี ศึกษาเปรียบเทียบฉันทลักษณ์บาลี. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ พิทักษ์อักษร, 2545.
พระมหาวิชาธรรม (เรือง เปรียญ). รามัญสมณะวงศ์. นนทบุรี: สำนักพิมพ์ศรีปัญญา, ม.ป.ป.
พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. “ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคน ไท”, ใน ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคนไท. หน้า 60-97. รวบรวมโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2559.
ไมเคิล ไรท. “ยุคมืด หรือช่องว่างในประวัติศาสตร์สยาม “a dark age”, or gap in Siamese history”, ใน ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้ามาของคน ไท. หน้า 4-43. รวบรวมโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2559.
ยอร์ช เซเดส์. เมืองพระนคร นครวัด นครธม. แปลโดย ปรานี วงษ์เทศ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์, 2556.
รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง และศานติ ภักดีคำ. ศิลปะเขมร. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
ศานติ ภักดีคำ. “จากศิลาจารึกเขมรโบราณสู่วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติของไทย”, ใน โสรม สรวงศิรธิรางค์ วรรณคดีเฉลิมพระเกียรติสมัยสุโขทัยและอยุธยาตอนต้น. หน้า 65- 84. รวบรวมและจัดพิมพ์โดย กรมศิลปากร. กรุงเทพฯ: สำนักวรรณกรรมและ ประวัติศาสตร์ กรมศิลปากร, 2560.
__________. “พระเจ้าศรีนทรวรมัน” ไม่ใช่ “พ่อขุนผาเมือง” ในศิลาจารึกเขมรโบราณของพระ เจ้าศรีนทรวรมัน”, ใน ยุคมืดของประวัติศาสตร์ไทย หลังบายน พุทธเถรวาท การเข้า มาของคนไท. หน้า 208-225. รวบรวมโดย พิพัฒน์ กระแจะจันทร์. กรุงเทพฯ: มติชน, 2559.
สมเด็จพระมหาสมณเจ้า กรมพระยาวชิรญาณวโรรส. บาลีไวยากรณ์ วจีวิภาค ภาคที่ ๒ นาม และอัพยยศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 53. กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2556.
สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. ประวัติศาสตร์เอเชียอาคเนย์ถึง พ.ศ. 2000. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพฯ: สมาคมประวัติศาสตร์ในพระราชูปถัมภ์สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยาม บรมราชกุมารี, 2560.
สุภัทรดิศ ดิศกุล, หม่อมเจ้า. “600 ปี แห่งพระประวัติเมืองพระนครของขอม”, นิตยสาร ศิลปวัฒนธรรม, ปีที่ 10 ฉบับที่ 6 (เมษายน 2532), หน้า 110-125, 2532.
อุไรศรี วรศะริน. ประชุมอรรถบทเขมร รวมบทความวิชาการของศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร.อุไรศรี วรศะริน. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด, 2545.
Cœdès, George. “Etudes cambodgiennes”, Bulletin de l'Ecole française d'Extrême- Orient, vol. 36 No.1 (1936), pp. 1-21.