The Buddho Meditation in Thailand .
Main Article Content
บทคัดย่อ
กัมมัฏฐานสายพุทโธ คือ การฝึกสติเพื่อให้เกิดสมาธิและปัญญาตามสายพุทโธ โดยเริ่มต้นกำหนดคำบริกรรมพุทโธจนเกิดสมาธิ แล้วใช้สมาธิเป็นฐานเจริญวิปัสสนาโดยพิจารณาโครงกระดูก เมื่อสงเคราะห์ตามวิธีการของสติปัฏฐาน จัดเข้าได้กับ กายานุปัสสี คือ ตามดูกาย ดูการเกิดดับของกาย ในส่วนของกระดูก ซึ่งเป็นอาการหนึ่งในอาการ ๓๒ อันจะทำให้เกิดความรู้เชื่อมโยงไปถึงการรู้อาการส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องกับร่างกายได้หมดจนกระทั่งปล่อยวางได้
นอกจากนั้น ความเป็นวิปัสสนากัมมัฏฐานอยู่ที่การเห็นนามรูปว่าไม่เที่ยง คือ มีเกิดแล้วดับ เป็นทุกข์คือถูกความเกิดและความดับบีบคั้นให้อยู่ในสภาพเดิมไม่ได้ และเป็นอนัตตาคือนามรูป ไม่มีตัวตนไม่สามารถบังคับให้เป็นไปตามใจปรารถนาได้
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
มูลนิธิหลวงพ่อสดธรรมกายาราม, คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย, พุทโธ, อานาปานสติ, พอง - ยุบ, รูปนาม, สัมมาอะระหัง, พิมพ์ครั้งที่ ๒, นครปฐม : บริษัท เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด, ๒๕๕๓.
จำลอง ดิษยวนิช. จิตวิทยาของความดับทุกข์. เชียงใหม่ : กลางเวียงการพิมพ์, ๒๕๔๔.
พระราหุล. พระพุทธเจ้าสอนอะไร. แปลโดย ชูศักดิ์ ทิพย์เกสร และคณะพิมพ์ครั้งที่ ๔. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทาลัย, ๒๕๔๘.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๑๙. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สหธรรมิก จำกัด, ๒๕๕๒.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). วิปัสสนานัย เล่ม ๒. แปลโดย พระคันธสาราภิวงศ์. นครปฐม :
ห้างหุ้นส่วนจากัด ซีเอไอ เซ็นเตอร์ จากัด, ๒๕๕๐.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ), มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่พระนิพพาน, แปลโดยพระคันธสาราภิวงศ์, กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด ไทยรายวันการพิมพ์, ๒๕๔
พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดก ญาณสิทธิ). วิปัสสนาญาณโสภณ. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ศรีอนันต์การพิมพ์, ๒๕๔๖.
พระนิโรธรังสีคัมภีรปัญญาจารย์. ประมวลแนวปฏิบัติธรรม. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรุงเทพ, ๒๕๒๙.
_________. หลักปฏิบัติสมถะและวิปัสสนากัมมัฏฐาน. พิมพ์ครั้งที่ ๔, กรุงเทพมหานคร : เรือนแก้วการพิมพ์, ๒๕๓๘.
พระมหาไสว ญาณวีโร. วิปัสสนาภาวนา. "อนุสรณ์ พระวิปัสสนาจารย์ รุ่นที่ ๒๓". กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. ๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร : นานมีบุ๊ค พับลิเคชั่นส์ จำกัด, ๒๕๔๒.
วิริยา ชินวรรโณ และคณะ. สมาธิในพระไตรปิฎก : วิวัฒนาการการตีความคำสอนเรื่องสมาธิ ในพระพุทธศาสนาฝ่ายเถรวาทในประเทศไทย. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, ๒๕๔๘.
มูลนิธิหลวงพ่อสดธรรมกายราม. คู่มือปฏิบัติสมถวิปัสสนากัมมัฏฐาน ๕ สาย. (พุทโธ, อานาปานสติ, พอง-ยุบ, รูปนาม, สัมมาอรหัง), พิมพ์ครั้งที่ ๒, นครปฐม : บริษัท เพชรเกษม พริ้นติ้ง กรุ๊ป จำกัด, ๒๕๕๓.
สถาบันจิตภาวนา มหาวิทยาลัยพระพุทธศาสนาแห่งโลก. เบญจภาคีกรรมฐาน : คู่มือการปฏิบัติ ธรรมเพื่อความพ้นทุกข์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๙.