อุบายกำจัดความอยากตามหลักพระพุทธศาสนา

Main Article Content

ธีรพงษ์ มีไธสง
พระมหาเพ็ญภาค ฐิตมโน

บทคัดย่อ

ความอยาก (โลภะ) จัดเป็นภัยคุกคามต่อความสงบสุขของมวลมนุษย์โดยแท้ ผู้ใดเมื่อถูกความโลภครอบงำแล้วมักทำให้ขาดสติ มีความกระวนกระวายอยากได้ อยู่ไม่เป็นสุข ชักนำไปสู่การก่อความเบียดเบียนสร้างความทุกข์ให้แก่ตนเอง และ ผู้อื่น ในมุมมองทางพระพุทธศาสนามีวิธีรับมือกับความโลภ และ การจัดการแก้ไขปัญหาอันเกิดจากความโลภด้วยวิธีการอันแยบคายหลายอย่าง ทั้งด้วยวิธีส่งเสริมให้เติมความโลภนั้นให้เต็มด้วยการขยันหา ขยันเก็บ มีมิตรคู่ใจที่ดี ฉลาดในการจับจ่ายใช้สอย ทั้งด้วยวิธีให้ลดความต้องการคือความโลภนั้นลง โดยอาศัยหลักธรรม การปฏิบัติ ใช้สติปัญญา การกระทำไว้ในใจโดยแยบคาย เพื่อเอาชนะความโลภภายในใจนั้นได้ สามารถพัฒนาตนไปสู่จุดมุ่งหมายสูงสุดในพระพุทธศาสนาคือ พระนิพพาน ในที่สุด

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, พระไตยปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย, กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทลาลัย, ๒๕๓๙.
ปราโมทย์ ปโมทิโต พระมหา, พจนานุกรมธาตุ ภาษาบาลี, กรุงเทพฯ: เอกพิมพ์ไทย จำกัด, ๒๕๔๑.
พระเทพดิลก (ระแบบ ิตาโณ), อธิบายหลักธรรมตามหมวดจากนวโกวาท,
กรุงเทพฯ : ธรรมสภา, ๒๕๓๕.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด คำวัด,
พิมพ์ครั้งที่ ๓, กรุงเทพฯ: ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, ๒๕๕๑.
พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช), พจนานุกรมเพื่อการศึกษาพุทธศาสน์ ชุด ศัพท์วิเคราะห์,
พิมพ์ครั้งที่ ๒, กรุงเทพฯ: เลี่ยงเซียง, ๒๕๕๐.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ๙,
กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
พระไพศาล วิสาโล (บรรณาธิการแปล), ศาสตร์และศิลป์แห่งการระงับความขัดแย้ง, พิมพ์ครั้งที่ ๒,
กรุงเทพฯ: โครงการสาส์น สำนักพิมพ์มูลนิธิเด็ก, ๒๕๔๙.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม, พิมพ์ครั้งที่ ๓๐,
มปท.: มูลนิธิธรรมทานกุศลจิต, ๒๕๕๘.
พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ๑๑,
มปท.: คณะผู้ศรัทธาจัดพิมพ์เป็นธรรมทาน, ๒๕๕๐.
, พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ ๑๗,
กรุงเทพฯ: พระพุทธศาสนาของธรรมสภา, ๒๕๕๔.
พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, พิมพ์ครั้งที่ ๓๙, ฉบับ
ข้อมูลคอมพิวเตอร์ครั้งที่ ๘: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๕๗.
เศรษฐศาสตร์แนวพุทธ, พิมพ์ครั้งที่ ๘, กรุงเทพฯ:
มูลนิธิพุทธาภิวัทน์, ๒๕๔๘.
พิมพ์ครั้งที่ ๓ , กรุงเทพฯ: พิมพ์สวย, ๒๕๕๐.
พระมหาสุวิทย์ วิชฺเชสโก, ทาน ก้าวแรกแห่งการพัฒนาคุณภาพชีวิต, กรุงเทพฯ: ฟองทอง
เอ็นเตอร์ไพรซ์ จำกัด, ๒๕๔๑.
มุกดา ศรียงค์, นวลศิริ เปาโรหิตย์, สิริวรรณ สาระนาค และ คณะ, จิตวิทยาทั่วไป (General
Psychology), กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มปป.
แม่ชีสุนันทา เรียงแหลม, การศึกษาวิธีแก้ปัญหาเรื่องความโลภในสังคมปัจจุบันตามหลัก
พระพุทธศาสนาเถรวาท, วิทยานิพนธ์พุทธศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: มหาจุฬาลงกรณราวิทยาลัย, ๒๕๕๐.
วศิน อินทสระ, พุทธจริยศาสตร์, กรุงเทพฯ: ธรรมดา, ๒๕๔๙.
วันเพ็ญ บงกชสถิตย์ (แปล), ชีวิตและความคิดของนักปรัชญา เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการ
ตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, ๒๕๓๕.
สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังราช สกลมหาสังฆปรินายก (เจริญ สุวฑฺฒโน), ๔๕ พรรษาของ
พระพุทธเจ้า, พิมพ์ครั้งที่ ๕, กรุงเทพฯ: มหามงกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๕๑.
สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯสยามบรมราชกุมารี, ทศบารมีในพระพุทธศาสนาเถรวาท, พระราช
วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๕.
หลวงเทพดรุณานุศิษฏ์ (ทวี ธรมธัช), ธาตุปฺปทีปิกา หรือ พจนานุกรม บาลี – ไทย, พิมพ์ครั้งที่ ๗,
กรุงเทพฯ: มหามกุฏราชวิทยาลัย, ๒๕๔๐.
เอนก ขำทอง และ ปัญญา สละทอง, ธรรมศึกษาชั้นตรี, พิมพ์ครั้งที่ ๘, กรุงเทพฯ:
กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม, ๒๕๕๔.