พระพุทธศาสนากับความเชื่อ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “พระพุทธศาสนากับความเชื่อ” พบว่า ความเชื่อ คือ หลักคำสอนของศาสนาพุทธส่วนใหญ่แสดงออกมาจากพฤติกรรมต่างๆ ในการดำเนินชีวิตที่เชื่อเรื่อง บาป-บุญ เชื่อเรื่องการเวียนว่ายตายเกิด เชื่อเรื่องอนิจจัง เชื่อเรื่องการไม่จองเวร เชื่อว่าทุกคนเกิดมาเท่าเทียมกัน เชื่อศรัทธาต่างๆ ชาวพุทธมีเสรีภาพในการเชื่อและศรัทธา และ เชื่อกรรมลิขิต ดังนั้นคนไทยในสังคมปัจจุบันยังต้องการศาสนาเป็นที่พึ่งอยู่มาก ตราบใดที่คนยังไม่มีความมั่นใจในชีวิต เพราะศาสนามีบทบาทสนองความต้องการทางจิตใจคนในสังคมได้เสมอ ขึ้นอยู่กับว่าแต่ละคนจะเลือกรูปแบบใด วิธีการใด ทางความเชื่อเหมาะกับความต้องการของตนเอง ดังนั้น ความเชื่อจึงมีความสำคัญเพราะมีบทบาทและอิทธิพลในการดำเนินชีวิตในสังคมแบบพุทธ โดยยึดเอาคำสอนของศาสนา มาใช้เป็นเป้าหมายของชีวิต และกำหนดกรอบของการดำเนินชีวิต ตามหลักธรรมที่เป็นเอกลักษณ์ของตน เช่น ศีล สมาธิ ปัญญา
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
กรมศิลปากร. โลกบัญญัติของพระสัทธรรมโฆษเถระ. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจากัดสามัญนิติบุคคลสหประชาพานิชย์, 2529.
ฉัตรสุมาลย์ กบิลสิงห์. ประเทศจีนกับพระพุทธศาสนา (ฝ่ายมหายาน). กรุงเทพมหานคร : มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2525.
เดือน คำดี . ศาสนศาสตร์. กรุงเทพมหนคร : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2541.
พระเทพมุณี (วิลาศ ญาณวโร). วรรณกรรมไทยเรื่องภูมิวิลาสินี. กรุงเทพมหานคร : ม.ป.พ.. 2528. 61-62.
พระเทพเวที ประยุทธ์ ปยุตฺโต. กรรมและนรกสวรรค์สำหรับคนรุ่นใหม่. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พริ้นติ้ง กรุ๊พ จำกัด, 2531.
พระธรรมปิฎก ป.อ. ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2543.
พระธรรมปิฎก. ป.อ.ปยุตฺโต. พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 24. นนทบุรี : บริษัท เอส.อาร์.พริ้นติ้ง แมสโปรดักส์ จำกัด, 2554..
พระธรรมสิงหบุราจารย์ (หลวงพ่อจรัญ ฐิตธมฺโม). วิธีทาบุญสร้างบารมี วิธีทาดีสนองคุณพ่อแม่. กรุงเทพมหานคร : เลี่ยงเชียงเพียรเพื่อพุทธศาสน์. 2553.
พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ. ปยุตฺโต. นรก-สวรรค์ ในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : บริษัทพิมพ์สวยจำกัด, 2547.
พระมหาเอกนรินทร์ เอกนโร วงษ์ขันธ์. “การศึกษาเชิงวิเคราะห์เรื่องบุญในพุทธปรัชญาเถรวาทและปรัชญาคริสต์นิกายโรมัน”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2536.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2534.
มหามกุฎราชวิทยาลัย, พระไตรปิฎกพร้อมอรรถกถาแปล ชุด 91 เล่ม, กรุงเทพมหานคร : มหามกุฎราชวิทยาลัย, 2534.
.มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. มนุษย์กับสังคม. ฉบับปรับปรุง. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์, 2540
วศิน อินทสระ. พุทธจริยศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : ทองกวาว, 2541.
http://hell0102.blogspot.com/2016/12/blog-post.html
http://www.buddhadasa.com/FAQ/FAQ_14.html.