หลักพรหมวิหาร ๔ กับคุณค่าของคนในสังคมไทย

Main Article Content

พระมหาอัสกรณ์ แตงดี

บทคัดย่อ

           บทความนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาหลักพรหมวิหารกับคุณค่าของคนในสังคมไทย ผลการศึกษาค้นคว้าพบว่า หลักพรหมวิหาร มีคุณค่าต่อคนในสังคมไทยหลายอย่าง เช่น ครอบครัว การศึกษา การทำงานของบุคคลในสังคมไทย คือ เป็นหลักธรรมที่สมาชิกของครอบครัวในสังคมไทยใช้เป็นหลักในการปฏิบัติหน้าที่ต่อกันด้วยความรัก ความเมตตาต่อกันซึ่งทำให้ปฏิบัติหน้าที่ต่อกันอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ถูกต้องตามหลักจริยธรรมและกฎหมายบ้านเมือง และพรหมวิหารยังมีคุณค่ากับการศึกษาในสังคมไทยอย่างมาก คือ ทำให้ผู้เรียนและผู้สอนในสังคมไทยกระทำหน้าที่ต่อกันได้อย่างราบรื่นมีความสุขและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน ทำให้การถ่ายทอดความรู้มีประสิทธิภาพ นอกจากนี้ พรหมวิหารยังเป็นหลักธรรมที่มีคุณค่ากับการทำงานของคนในสังคมไทยเป็นอย่างมาก คือ ทำงานด้วยหลักเมตตา กรุณา มุทิตา และอุเบกขา ทำให้การทำงานต่างๆราบรื่นและผู้ทำงานต่างปฏิบัติหน้าที่ของตนอย่างมีความสุขและมีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยกรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.

จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. ศาสนา ชีวิต และสังคม. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2547.

สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 2548.

ทัศนีย์ ทองสว่าง. สังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์, 2537.

พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. มณีแห่งปัญญา. กรุงเทพมหานคร :ธรรมสภาและสถาบันบันลือธรรม, ม.ป.ป.

พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). จากสุขในบ้านสู่ความเกษมศานติ์ทั่วสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 3.กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จำกัด, 2542.

. ธรรมนูญชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร : บริษัทสหธรรมิกจำกัด, 2542.

. พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546.

พระเทพดิลก (ระแบบ ตาโณ). พรหมวิหารธรรมเรือนใจของผู้ใฝ่สุข. กรุงเทพมหานคร :ธรรมสภา, ม.ป.ป.

พระเทพวิสุทธิกวี (พิจิตร ตวณฺโณ). การพัฒนาจิต. พิมพ์ครั้งที่ 6. นครปฐม : โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2543.

พระพุทธโฆสเถระ. คัมภีร์วิสุทธิมรรค แปลและเรียบเรียงโดย สมเด็จพระพุฒาจารย์ (อาจ อาสภ-มหาเถร). พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : บริษัท ธนาเพรส จำกัด, 2548.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. พิมพ์ครั้งที่ 16. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์จันทร์เพ็ญ, 2551.

พระราชวรมุนี. ปรัชญาการศึกษาไทย ฉบับแก้ไข-รวบรวมใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา กระทรวงศึกษาธิการ, 2528.

พระสัทธัมมโชติกะ ธัมมาจริยะ. ปรมัตถโชติกะมหาอภิธัมมัตถสังคหฎีกา ปริจเฉจที่ 9 เล่ม 1 สมถกรรมฐานทีปนี. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : บริษัทวี. อินเตอร์พริ้นท์จำกัด 2547.

พระอุปติสสะเถระ. วิมุตติมรรค ฉบับแปลโดย พระเทพโสภณ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต) และคณะแปลจากฉบับภาษาอังกฤษ ของพระเอฮารา พระโสมเถระ และพระเขมินทเถระ. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2548.

นพดล สุตันติวณิชย์กุล และคณะ. การเมืองเศรษฐกิจและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 2549.

ประยุทธ์ หลงสมบูรณ์. พจนานุกรม มคธ-ไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : บริษัทธรรมสารจำกัด, 2546.

ปรีชา ช้างขวัญยืน. ทรรศนะทางการเมืองของพระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สามัคคีสาสน์ จำกัด, 2540.

มูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัยในพระบรมราชูปถัมภ์. มิลินทปัญหา ฉบับแปลในมหามกุฏราชวิทยาลัย. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2547.

ยุบลวรรณ ตั่นเธียรรัตน์. มนุษย์กับสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัย:กรุงเทพมหานคร, 2550.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมศัพท์ศาสนาสากล อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัด อรุณการพิมพ์, 2548.

สมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ สุวฑฺฒโน). รวมธรรมะ. กรุงเทพมหานคร: บริษัท อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด มหาชน, 2543.