การบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนตามหลักอิทธิบาท ๔ ในวิกฤติการณ์โควิด ๑๙
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการบริหารงานวิชาการด้านการจัดการเรียนการสอนตามหลักอิทธิบาท 4 ในวิกฤติการณ์โควิด 19 พบว่า หลักอิทธิบาท 4 ช่วยส่งเสริมให้ผู้บริหารเกิดความพอใจในการทำงานเต็มความรู้ความสามารถ ถึงแม้สถานการณ์จะหนัก ภาระงานจะมากต้องมีความพอใจในการปฏิบัติงาน มีความเพียรพยายามในการทำงานอย่างต่อเนื่อง พิจารณางานด้วยปัญญาและไตร่ตรองงานต่าง ๆ อย่างรอบคอบเพื่อแก้ไขปัญหาในวิกฤติการณ์การจัดการเรียนการสอนตามถานการณ์ให้ดีขึ้นโดยการปฏิบัติตามการจัดการเรียนการสอนในแบบเดิม
ปรับสู่การสร้างทีมและเครือข่ายความร่วมมือ ด้วยการสอนออนไลน์ผ่านสื่อเทคโนโลยีที่หลากหลาย การสอนผ่านคลิปวีดีโอ การสอนแบบง่ายสลับยาก การสอนออนไลน์โดยใช้สื่อประสม
การสอนออนไลน์กึ่งออฟไลน์
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
กมล ภู่ประเสริฐ. การบริหารงานวิชาการในสถานศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : เสริมสินพรีเพรส ซิสเท็ม. 2547.
กระทรวงศึกษาธิการ. การบริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร : องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์, 2546.
กระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือการบริหารสถานศึกษาที่เป็นนิติบุคคล. กรุงเทพมหานคร : มปท.
ธีระ รุญเจริญ. การบริหารโรงเรียนยุคปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์ แอล ที เพรส, 2546.
ประชาชาติธุรกิจ. สมศ.ถอดบทเรียนผลประเมิน ร.ร. พบ 5 วิธีการสอนที่เหมาะกับ
ยุคโควิด. วันที่ 28 พฤษภาคม 2564. https://www.prachachat.net/education/news-679542 [ออนไลน์วันที่ 27 สิงหาคม 2564]
ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. การบริหารงานวิชาการ. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ, 2546.
พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺจิตฺโต. “ธรรมในใจของนักบริหารไฮโซ”. หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ. ฉบับวันที่ 20 มิถุนายน 2551.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
รุ่ง แก้วแดง. ปฏิวัติการศึกษาไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพมหานคร : มติชนจำกัด. 2541.
รุจิร์ ภู่สาระ และจันทรานี สงวนนาม. การบริหารหลักสูตรในสถานศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พริกหวานกราฟฟิค, 2545.
วินิจ เกตุขำ. มนุษยสัมพันธ์สำหรับผู้บริหารยุคใหม่. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์, 2542.
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2. ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 ประถมศึกษาปีที่ 6 และมัธยมศึกษาปีที่ 3. นราธิวาส : สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานราธิวาส เขต 2, 2550.
สิริพร อินทสนธิ์. โควิด -19 : กับการเรียนการสอนออนไลน์ กรณีศึกษา รายวิชาการเขียนโปรแกรมเว็บ. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์ ปีที่ 22 ฉบับที่ 2, 2563.
อภิชาติ ทองอยู่. นิว นอร์มอล กับ 4 ประเด็นสำคัญน่าคิด…ที่จะทำให้ ‘การศึกษา’ พ้นความตกต่ำ ล้าหลัง และความสูญเปล่าไม่รู้จบ. https://www.salika.co/ 2020/05/17/new-normal-impact-education-must-be-changed/ [ออนไลน์วันที่ 17 ตุลาคม 2563]
อุทัย บุญประเสริฐ. การวางแผนการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2538.
Van Miller. The Public Administration of American School. New York : Macmillan Publishing Company. 1965.