การส่งเสริมแหล่งเรียนรู้วิถีพุทธของวัดในกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

พงษ์เทพ ล้อประเสริฐ

บทคัดย่อ

การส่งเสริมแหล่งเรียนรู้วิถีพุทธของวัดในกรุงเทพมหานครผู้บริหารวัดและเจ้าอาวาสส่งเสริมให้วัดมีการพัฒนาศาสนสถานและศาสนวัตถุให้สะอาดด้วยการพัฒนาและปรับปรุงวัด ให้สวยงามประหยัดเรียบง่ายสอดคล้องต่อศิลปวัฒนธรรมประเพณีของชาติและท้องถิ่น ปรับปรุงสภาพแวดล้อมภายในวัดให้มีความสะอาดร่มรื่น พัฒนาบุคลากรให้สงบ ปรับปรุงระบบการรับบุคคลเข้ามาบวช พัฒนาความรู้ของพระสังฆาธิการให้ถูกต้องทันสมัยทั้งทางโลกและทางธรรม ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบและประกอบศาสนกิจอันเป็นประโยชน์ต่อสังคม พัฒนาการจัดกิจกรรมภายในวัดให้สว่าง โดยปรับปรุงแบบการประกอบศาสนพิธีให้มีความเข้าใจที่ถูกต้อง จัดการศึกษาให้แก่พระภิกษุ ให้เรียนรู้หลักธรรม คำสั่งสอน สามารถปฏิบัติตนอย่างถูกต้อง พัฒนารูปแบบการเผยแผ่พระพุทธศาสนาให้มีความหลากหลาย สามารถเลือกใช้ความรู้จากหลักธรรมพื้นฐานมาเป็นหลักในการเผยแผ่เพื่อสร้างวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้วิถีพุทธอย่างยั่งยืน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กรมการศาสนา. แนวทางการดำเนินงานโครงการส่งเสริมการท่องเที่ยวเส้นทางแสวงบุญในมิติทางศาสนา ปี 2557. กรุงเทพมหานคร: กรมการศาสนา. 2557.

กรมสามัญศึกษา. การพัฒนาและการใช้แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนและท้องถิ่นเพื่อจัดกระบวนการเรียนรู้.กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา.2544.

เฉลิม พรกระแส. ร่วมปฏิรูปการเรียนรู้กับครูต้นแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญการสอนแบบการแสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้. กรุงเทพมหานคร : แคนดิตมีเดีย. 2544.

เนาวรัตน์ ลิขิตวัฒนเศรษฐ. แหล่งเรียนรู้ในโรงเรียนสร้างเพื่อเด็กมิได้สร้างเพื่อใคร. วารสารวิชาการ. ปีที่ 4 ฉบับที่ 12 ธันวาคม 2544.

ประเวศ วะสี. สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 3. นนทบุรี : สำนักงานปฏิรูปสุขภาพสถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข. 2543.

พระครูวัฒนสุตานุกูล.“กระบวนการพัฒนาวัดให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ของคณะสงฆ์ไทย” วิทยานิพนธ์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.2557.

พระเทพปริยัติสุธี (อาทร อินฺทปญฺโ). การคณะสงฆ์และการพระศาสนา. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2540.

พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). บทบาทของสถาบันพระพุทธศาสนากับการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: พิมพ์ดี. 2546.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่2 พ.ศ. 2545. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา :http://www.seal2thai.org/kru/kru012e.htm [2 สิงหาคม 2563].

พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ. 2505 แก้ไขเพิ่มเติม ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2535. อ้างใน พระธรรมกิตติวงศ์ (ทองดี สุรเตโช). บทบาทของสถาบันพระพุทธศาสนากับการจัดการศึกษา. กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดี. 2546.

พระวิสุทธิภัทรธาดา (ประสิทธิ์ พฺรหฺมรํสี). พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ และกฎมหาเถระ. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2547.

ภาสินี เปี่ยมพงศ์สานต์. สิ่งแวดล้อมศึกษา : แนวการสอนสาระการเรียนรู้และกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548.

ศิริกาญจน์ โกสุมภ์ และดารณี คำวัจนัง. แหล่งการเรียนรู้ : เพื่อการปฏิรูปการเรียนรู้และหลักสูตรสถานศึกษา.กรุงเทพมหานคร : เมธีทิปส์. 2545. หน้า 25.

สมเด็จพระมหารัชมังคลาจารย์. ช่วง วรปญฺโญ. วัดพัฒนา 50. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์สำนักงานพระพุทธ ศาสนาแห่งชาติ. 2550.

สมาน จิตภิรมย์รื่น. “วัดพัฒนา 41”. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา. 2541.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ. แหล่งเรียนรู้ในสถานศึกษาและชุมชน. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์การศาสนา. 2545.

สำนักงานพระพุทธศาสนา. ข้อมูลพื้นฐาน ปี 2551. อ้างใน พระปลัดโฆษิต คงแทนและคณะ “รูปแบบการจัดการศึกษาของวัดให้เป็นแหล่งเรียนรู้ของชุมชน”. ดุษฎีนิพนธ์. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยวงษ์ชวลิตกุล.2558.

สุจิตรา อ่อนค้อม. “รูปแบบการจัดการศึกษาและการเผยแผ่ศาสนธรรมของวัดในพระพุทธศาสนา : กรณีศึกษาวัดสามชุก”. สำนักคณะกรรมการการศึกษาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. 2546.

สุมาลี สังข์ศรี และคณะ. การจัดการเรียนรู้ของแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต : พิพิธภัณฑ์. รายงานการวิจัย. กรุงเทพมหานคร : ห้างหุ้นส่วนจำกัดภาพพิมพ์. 2548.

สุวิทย์ มูลคำ และอรทัย มูลคำ. การบูรณาการหลักสูตรการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร : ภาพพิมพ์. 2544.