ทักษะการคิดเชิงคำนวณกับอิทธิบาท ๔ หลักธรรมแห่งความสำเร็จ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ทักษะการคิดเชิงคำนวณ เป็นทักษะกระบวนการในการแก้ปัญหา การคิดวิเคราะห์
อย่างมีเหตุผล เป็นขั้นเป็นตอน เพื่อหาวิธีการแก้ปัญหาในรูปแบบที่สามารถนำไปประมวลผล
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และยังสามารถนำไปใช้แก้ปัญหาในศาสตร์อื่น ๆ และปัญหาในชีวิตประจำวันได้ เมื่อนำมาผนวกรวมกับอิทธิบาท 4 ซึ่งเป็นหลักธรรมแห่งความสำเร็จ เพราะเป็นหลักธรรมที่มีวิธีปฏิบัติที่ชัดเจนและสามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาเพื่อให้เกิดทักษะการคิดเชิงคำนวณ อิทธิบาท 4 นั้นประกอบด้วย 1) ฉันทะ ความพอใจหรือความศรัทธาต่อสิ่งนั้น 2) วิริยะ ความเพียรหรือความอดทนอดกลั้นต่ออุปสรรค 3) จิตตะ จิตจดจ่อต่อสิ่งนั้นหรือความรับผิดชอบในสิ่งนั้น4) วิมังสา การไตร่ตรองหรือการทบทวนต่อสิ่งที่ตนเองทำ หลักธรรมนี้จะช่วยพัฒนาตนเองไปสู่ความก้าวหน้าและประสบความสำเร็จได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
Barcelos, T., Munoz, R., Villarroel,R., Merino, E. and Silveira, I. (2018). Mathematics Leaming through Computational Thinking Activities: A Systematic Literature Review. Joumal of Universal Computer Science. 24(7), 815-845.
Wing, J. (2006). Computational thinking. Communications of the ACM, 49(3), 33- 35.
ชยการ คีรีรัตน์. (2562). การใช้กระบวนการแก้ปัญหาและโปรแกรม App Inventor พัฒนาทักษะการคิดเชิงคำนวณ(Computational Thinking: CT) สำหรับผู้เรียนระดับมัธยมศึกษา.วารสารครุศาสตร์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 47(2), 31-47.
พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺจิตฺโต), “ธรรมในใจของนักบริหารไฮโซ”, หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ, (ฉบับวันที่ 20 มิถุนายน 2551).
พระพรหมคุณาภรณ์(ป.อ.ปยุตโต). (2557).พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย. กรุงเทพฯ:ผลิธัมม์.
ภาสกร เรืองรอง, รุจโรจน์ แก้วอุไร, ศศิธร นาม่วงอ่อน, อพัชชา ช้างขวัญยืน และศุภสิทธิ์ เต็งคิว(2561). Computational Thinking กับการศึกษาไทย. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 10(3),322-330.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
วรางรัตน์ เสนาสิงห์. (26 เมษายน 2562). การสอนวิทย์แบบสร้างสรรค์ในศตวรรษที่ 21.สืบค้นเมื่อ 22 พฤษภาคม 2562, จาก https:/www.scimath.org/article-science/tem/9607-21-9607.
ศรายุทธ ดวงจันทร์. (2561). ผลการใช้แนวสะเต็มศึกษาในวิชาฟิสิกส์ที่มีต่อความสามารถในการคิดเชิงคำนวณของนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. วิทยานิพนธ์ ค.ม..จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. (2560ก). คู่มือการใช้หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช2551 สาระเทคโนโลยี(วิทยาการคำนวณ) ระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา.กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560ข). คู่มือครู รายวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. กรุงเทพฯ:สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี.