การบริหารจิตและการเจริญสติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐาน 4 กับการบริหารจัดการศึกษายุคใหม่ ในสถานการณ์ (Covid-19) Modern Education Management In situation (Covid-๑๙) with the practice of Vipassana Meditation according to the Satipatthana ๔
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางการบริหารจัดการศึกษาในการเตรียมรับความปกติใหม่ (New normal) ที่จะเกิดขึ้นหลังวิกฤตโควิด-19 สำหรับผู้บริหารสถานศึกษา ที่ต้องบริหารจัดการศึกษาภายใต้รูปแบบการดำเนินชีวิตอย่างใหม่ที่แตกต่างจากอดีต อันเนื่องจากมีบางสิ่งมากระทบ จนแบบแผนและแนวทางในการปฏิบัติที่คนในสังคมคุ้นเคยอย่างเป็นปกติและเคยคาดหมายล่วงหน้าได้ ต้องเปลี่ยนแปลงไปสู่วิถีใหม่ เช่น การเว้นระยะห่างทางสังคม การใส่แมส การไม่ไปอยู่ที่เสี่ยงต่อการแพร่กระจายของเชื้อโรคโควิด-19 สายพันธุ์ใหม่ เดลตาและสายพันธุ์โอมิครอน ฯลฯ เป็นต้น ผู้บริหารจึงต้องมีการบริหารจัดการศึกษาที่สอดคล้องกับความปกติใหม่โดยมีแนวทางในการบริหาร ได้แก่ การเตรียมความพร้อมในการเรียนการสอนออนไลน์ ทั้งในด้านอุปกรณ์และเทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอน การออกแบบหลักสูตร โดยคำนึงถึงความแตกต่างของผู้เรียนในแต่ละคน การบริหารจัดการกิจกรรมในโรงเรียนของครูและบุคลากรทางการศึกษาให้ประสบความสำเร็จในการจัดการเรียนรู้ มีการหารือและวางแผนร่วมกันของบุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องในทุกภาคส่วน ตั้งแต่ผู้กำหนดนโยบาย ผู้บริหารสถานศึกษา ครู บุคลากรทางศึกษา ผู้ประกอบการในภาคธุรกิจและภาคประชาสังคม พ่อแม่ ผู้ปกครอง รวมถึงการเตรียมความพร้อมทั้งทางด้านร่างกายและจิตใจของครูและนักเรียน โดยเฉพาะปัญหาทางด้านสุขภาพจิต ดังนั้นการบริหารจิตและการเจริญสติในชีวิตประจำวัน จึงกลายมาเป็นสิ่งที่มีความสำคัญ สำหรับคนในยุคสมัยปัจจุบันดังนั้น จึงเริ่มมีความสนใจที่จะศึกษาหลักธรรมทางพระพุทธศาสนาเพิ่มมากขึ้น เพื่อใช้เป็นโอสถรักษาความทุกข์กาย ทุกข์ใจของตนเอง โดยเฉพาะการเจริญสติปัฏฐาน 4 ตามหลักมหาสติปัฏฐานสูตร ที่ยอมร้บกันทั่วโลกว่าสามารพัฒนาสติปัญญาและแก้ปัญหาทางด้านจิตใจของผู้คนในสังคม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย . พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร:มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2539.
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พุทธธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.).
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต).พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. (พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.).
สุคนธ์ สินธพานนท์. ครูยุคใหม่กับการจัดการเรียนรู้ยุค 4.0 (กรุงเทพมหานคร:
ศูนย์หนังสือแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย (2560)).
วิชัย วงษ์ใหญ่. New normal ทางการเรียนรู้. (กรุงเทพมหานคร:บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.).
นพพงษ์ บุญจิตราดุล. หลักการบริหารการศึกษา. (กรุงเทพมหานคร: ศูนย์การพิมพ์กรุงเทพมหานคร. 2534).
บุญเลิศ อ่อนกูล. “พฤติกรรมผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา จังหวัดราชบุรี”. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต. (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร. 2554).
ณอภัย พวงมะลิ. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยการปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามแนวสติปัฏฐานสี่.(วิทยานิพนธ์ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่, 2561).
พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุต.โต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ครั้งที่ 6. พ.ศ.2532.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 8. (กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2538).
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ. พิมพ์ครั้งที่ 8. (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. 2552).
ที.ม. (ไทย). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. พิมพ์ครั้งที่ 21. (กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์เพ็ทแอนด์โฮม จำกัด.2546).
ที.ม.(ไทย) 10/372/301.
ที.ม.(ไทย) 10/372/301.
คำว่า “สติปัฏฐานสูตร” เรียกโดยนัยแห่งมัชฌิมนิกายมูลปัณณาสก์เล่มที่ 12,
ส่วนคำว่ามหาสติปัฏฐานสูตร”เรียกตามทีฆนิกายมหาวรรค
(ดูเพิ่มเติมที่ ที.ม.(ไทย).เล่มที่ 10 บทนำหน้า (57).
พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม. มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. ครั้งที่ 6. พ.ศ.2552.
สุภาภรณ์ พรหมบุตร. New normal กับวิถีชีวิตที่เปลี่ยนแปลง. [ออนไลน์]
แหล่งที่มา : https://dsp.dip.go.th/th/category/2017-11-27-08-04-02/2020-06-29-14-39-49. [25 มกราคม 2565].
เสาวรัจ รัตนคำฟู. ผลกระทบของการทำงานที่บ้านในช่วงโควิด-19 : กรณีศึกษาของทีดีอาร์ไอ.[ออนไลน์]แหล่งที่มา : https://tdri.or.th/2020/05/impact-of-working-from-home-covid-19.[25 มกราคม 2565].
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. การศึกษายุคดิจิทัล.
แหล่งที่มา : https://www.posttoday.com/social/general/628541.[26 มกราคม 2565].สำนักงานสภานโยบายการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรมแห่งชาติ. Recovery
วันเพ็ญ พุทธานนท์. New Normal การศึกษาไทยกับ 4 รูปแบบใหม่การเรียนรู้. [ออนไลน์]
แหล่งที่มา : https://www.thebangkokinsight.com/367124.[26 มกราคม 2565].
มารุต พัฒผล. การประเมินการเรียนรู้ใน New normal. กรุงเทพมหานคร:
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชัยชนะ มิตรพันธ์. ปรับไลฟ์สไตล์ชีวิตใหม่รับ New Normal หลังวิกฤตโควิด-19. [ออนไลน์]
แหล่งที่มา : https://www.etda.or.th/content/new-normal-after-covid-19.html.[20 มกราคม 2565].
ชูกิจ ลิมปิจำนงค์. Recovery Forum “School Reopening and Teacher Empowerment to cope with the Next Normal in Education”. [ออนไลน์]
แหล่งที่มา : https://m.mgronline.com/qol/detail/9630000063614.[26 มกราคม 2565].
ศิริเดช คำสุพรหม. รีวิวหลักสูตรยุคโควิด-19. [ออนไลน์]
แหล่งที่มา : https://www.salika.co/2020/05/05/review-mba-program-post-covid-era/. [26 มกราคม 2565].
Force, T., & Unesco. 7 ways to help teachers succeed when schools reopen. [Online] (From : https;// www.educathai.com/knowledge/articles.(January30,2022)