การสร้างความสมดุลชีวิตกับการทำงานในบทบาทของครูตามหลักไตรสิกขา
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางการสร้างความสมดุลชีวิตกับการทำงาน (Work-Life Balance) ของครูโดยใช้หลักไตรสิกขา ซึ่งพบว่า การนำหลักไตรสิกขา ซึ่งเป็นธรรมะในพัฒนามนุษย์ให้เป็นผู้ที่สมบูรณ์ทั้ง กาย จิต และเกิดปัญญาในบุคคลที่ปฏิบัติ เพื่อเรียนรู้การดำเนินชีวิตอย่างมีสติ พอดี และเหมาะสม เมื่อบุคคลได้พัฒนาตนเองให้มีความสมดุลในชีวิตและการทำงาน ทำให้งานมีประสิทธิภาพ สร้างศักยภาพให้กับองค์กร หากผู้บริหารหรือครูได้เรียนรู้แนวคิดของความสมดุลและการพัฒนาตนเองตามหลักธรรมแล้ว สิ่งที่ได้รับคือความผูกพัน การสร้างประโยชน์ของบุคลากร และความสำเร็จที่เกิดขึ้นต่อองค์กรในระยะยาวสืบไป
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
กนกอร ธรรมแสง, “ความสัมพันธ์ระหวา่งสมดุลชีวิตในการทำงานและความสุขในการทำงานของนักกีฬาอาชีพ”,วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยบูรพา), 2562,หน้า 21
กาญจนา หาญศรีวรพงศ์,“การสร้างดุลยภาพชีวิตตามหลักธรรมในพระพุทธศาสนา”, ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย),2561หน้า 67.
กิตติคุณ แสงนิล, “การสร้างความหมายทางสังคมและบริหารความสมดุลในชีวิตและการทำงานจากประสบการณ์ของนักศึกษาปริญญาเอก คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยศิลปากร: การศึกษาเพื่อสร้างทฤษฎีฐานราก”,ใน Kasem Bundit Journal Volume 20 No.1 (January-June) 2019.
เครือมาศ ชาวไร่เงิน.(2564). สมดุลสุขภาพกับการทำงาน ของข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษากรุงเทพมหานคร. Journal of Humanities and Social Sciences Thonburi University. หน้า156-158.
จุฑาภรณ์ หนูบุตร “ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน กรณีศึกษา : โรงพยาบาลวิภาวดี”,วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์), 2554, หน้า 13
ธีระ กนกกาญจนรัตน์. (2556), เข็มทิศ SME : Work Life Balance ปรับแนวคิดสำหรับชีวิตและการงาน , [ออนไลน์], แหล่งที่มา https://www.thairath.co.th/content/370700 [20 กุมภาพันธ์ 2565].
ปิยสุนีย์ ชัยปาณี, “กลยุทธ์ทางเลือกการสร้างความสมดุลในชีวิตและการทำงานของบุคลากรในองค์กรที่มี สมรรถนะสูงในประเทศไทย”, ใน Research and Development Journal Suan Sunandha Rajabhat University Vol. 12 No.2 (July-December) 2020 : 92-93.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย , พิมพ์ครั้งที่ 39, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2557), หน้า 546.
, พจนานุกรมพุทธศาสน์ฉบับประมวลศัพท์ (ชำระ-เพิ่มเติมช่วงที่1/ยุติ),พิมพ์ครั้งที่ 19, (กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์พระพุทธศาสนาของธรรมสภา 2556), หน้า 121.
พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย, พิมพ์ครั้งที่ 39, หน้า 723.
พระเมธีวราภรณ์,(สุทัศน์ป.ธ.9), เบญจศีลเบญจธรรม อุดมชีวิตของมนุษย์,(กรุงเทพมหานคร : มปป, 2555), หน้า 6.
ภาณุภาคย์ พงศ์อติชาติ, ความสมดุลระหว่างชีวิตกับการทำงาน, [ออนไลน์], แหล่งที่มาwww.ocsc.go.th/ocsccms/uploads/File/WLB%20_1.pdf [20 กุมภาพันธ์ 2565].
เรือนปัญญา 2010 จำกัด , 2553), หน้า 116 – 124.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (2539). พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราช วิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยนต์ ชุ่มจิต. (2553), [ออนไลน์], แหล่งที่มาhttp://www.thaischool.in.th/_files_school/30113921/other/ita_30113921_0_20200620-174414.pdf [20 กุมภาพันธ์ 2565].
วฉัตษกา สุพรรณนานา, “ความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานของบุคลากร โรงเรียนกำแพงเพชรพิทยาคม จังหวัดกำแพงเพชร”, วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่) ,2562, หน้า 10.
วัชระ งามจิตรเจริญ,ดร., พุทธศาสนาเถรวาท, พิมพ์ครั้งที่ 2, หน้า 374 - 395.
สาริกา หาญพานิชย์,“การพัฒนาคุณภาพชีวิตเชิงพุทธบูรณาการ โดยใช้หลักไตรสิกขา”, ดุษฎีนิพนธ์พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต, (บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย), 2557, หน้า 206 - 207.
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ, คำพ่อสอน : ประมวลพระบรมราโชวาท และพระราชดำรัสเกี่ยวกับความสุขในการดำเนินชีวิต, [ออนไลน์], แหล่งที่มา www.thaihealth.or.th/Content/39281-หลักคิดดำเนินชีวิตด้วย%20“คำพ่อสอน”.html [20 กุมภาพันธ์ 2565].