การแต่งงานของคนเพศเดียวกัน

Main Article Content

ไพฑูรย์ อุทัยคาม
พระมหาพรชัย สิริวโร

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวคิดการแต่งงานของคนเพศเดียวกัน เป็นการกระทำที่ควรหรือไม่ ถ้าเป็นการกระทำที่ควร มีหลักคำสอนใดรับรอง และถ้าเป็นการกระทำที่ไม่ควรมีหลักคำสอนใดเป็นข้อห้าม บทความนี้จะพิจารณาจากแนวคำสอนในพระพุทธศาสนาเป็นหลัก หลังจากพิจารณาตามหลักพระพุทธศาสนา บทความนี้ให้เหตุผลว่า การแต่งงานของคนเพศเดียวกัน ไม่สามารถจัดได้ว่า “ควร” หรือ “ไม่ควร” เพราะไม่พบข้อห้ามหรือข้ออนุญาตใด ๆ เลย ดังนั้น จึงมีความเป็นไปได้ว่า การกระทำดังกล่าวสามารถกระทำได้ตราบที่ยังไม่ละเมิดศีลข้อ 3 หรือเป็นอันตรายต่อตนเองและสังคม

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กัญญภัค แมกกี้, พระมหามฆวินทร์ ปุริสุตฺตโม. “ความหลากหลายทางเพศกับการบรรลุธรรมในทัศนะพุทธปรัชญาเถรวาท”. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ ปีที่ 5 ฉบับที่ 5 (พฤษภาคม 2563): 200.

เกิดโชค เกษมวงศ์จิตร. การจดทะเบียนคู่ชีวิตของกลุ่มคนรักเพศเดียวกัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.humanrightscenter.go.th/IHR/HRI2/ [20 มีนาคม 2565].

ฉัตรทิพย์ นาถสุภา. ลัทธิเศรษฐกิจการเมือง. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬา

ลงการณ์มหาวิทยาลัย, 2550.

ชลิตาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. สงครามเชิงวัฒนธรรม: การแต่งงานของคนรักเพศเดียวกัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.sapaan.org/article/28.html [20 มีนาคม 2559].

ชวินโรจน์ ธีรพัชรพร และภาณุมาศ ขัดเงางาม. “สิทธิความเสมอภาคในการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย”. วารสารสมาคมนักวิจัย. ปีที่ 22 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560): 94.

ณัชพงษ์ สำราญ. “กฎหมายครอบครัวสำหรับคู่รักเพศเดียวกัน”. วารสารวิชาการ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. ปีที่ 11 ฉบับที่ 1 (มิถุนายน 2562): 44.

เทิดเกียรติภณช์ แสงมณีจีรนันทเดชา และรัตพงษ์ สอนสุภาพ. “ความเสมอภาคของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศต่อการสมรสและรับรองบุตรในประเทศไทย: ในมุมมองของนักวิชาการ และนักเคลื่อนไหวทางสังคม”. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชพฤกษ์. ปีที่ 5 ฉบับที่ 2 (มิถุนายน-กันยายน 2562): 5.

ธัญลักษณ์ นามจักร. “การรับรองสถานภาพการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ”. วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 2556.

ธัญลักษณ์ นามจักร. “การรับรองสถานภาพการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศ The Recognition of Marital Status of Diverse Sexual Identity Persons”. วารสารนักบริหาร Executive Journal. ปีที่ 33 ฉบับที่ 2 (เมษายน-มิถุนายน 2556): 13.

นรุตม์ ศุภวรรธนะกุล. ในแดนสวรรค์ของเพศที่สาม Midnight University. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://midnightuniv.org/ในแดนสวรรค์ของเพศที่สาม [19 เมษายน 2559].

นฤพนธ์ ด้วงวิเศษ. พื้นที่ของเพศนอกกรอบในสังคมไทย ในมิติการเมืองและวัฒนธรรม, บทความ-ข่าวทางมานุษยวิทยา: Queer Anthropology. ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.sac.or.th/main/content.php?section_id=1&category_id=27 [19 เมษายน 2559].

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “ที่เหนือคอหยัก ๆ” ใน ว่าด้วยเพศ ความคิด ตัวตน และอคติทางเพศ ผู้หญิง เกย์ เพศศึกษาและกามารมณ์. (กรุงเทพมหานคร: มติชน, 2545) หน้า 80. อ้างใน หริณวิทย์ กนกศิลปะธรรม. “ความหลากหลายทางเพศในมุมมองของจริยศาสตร์คริสต์และพุทธศาสนา”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (ก.ค.-ธ.ค. 2556): 105.

พระกุศล สุภเนตฺโต และคณะ “การรักร่วมเพศ: บทวิเคราะห์ตามแนวพุทธจริยศาสตร์”. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 3 ฉบับที่ 1 (มกราคม-เมษายน 2563): 100.

พระมหาสักชาย กนฺตสีโล. “การศึกษาวิเคราะห์เรื่องบัณเฑาะก์ในกลุ่มพระภิกษุสามเณรไทยในปัจจุบัน”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาพุทธศาสนศึกษา. คณะศิลปะศาสตร์: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2551.

พระมหาสุบิน สุนฺทรธมฺโม, พระมหาบุญศรี ญาณวุฑฺโฒ. “ศึกษาการปฏิบัติวิปัสสนาภาวนาในอัจฉราสูตร”. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 1 (มกราคม – เมษายน 2564): 128.

ไพเราะ มากเจริญ. “เกณฑ์ตัดสินศีลข้อที่ 3: A Criterion to Judge the Third of Five Precepts”. วารสารศิลปศาสตร์. ปีที่ 7 ฉบับที่ 2. (กรกฎาคม-ธันวาคม 2550): 140-141.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.

มหามกุฏราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับสฺยามรฏฺฐเตปิฎกํ 2525. กรุงเทพมหานคร:

โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2525.

ริญญาภัทร์ ณ สงขลา. “ความเสมอภาคในการสมรสของบุคคลที่มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย”. ในการประชุมวิชาการสาขาวิชานิติศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: คณะนิสิตศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2561.

วิมลศิริ ชำนาญเวช. “สิทธิในการสมรสของคนเพศเดียวกัน”. วารสารนิติศาสตร์ คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. ฉบับที่ 4 (2555): 877

ศุภณัฐ ขุนทอง. “การจดทะเบียนสมรสเพศเดียวกันในประเทศไทย”. ใน บทความทางรัฐศาสตร์. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง, มปป.

สมชาย ปรีชาศิลปะกุล แปล. Same-Gender Marriage: การแต่งงานระหว่างเพศเดียวกัน (มุมมองจากยุโรป). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://v1.midnightuniv.org/midnight2544/ 0009999462.html [25 มีนาคม 2559].

สรณ บุญใบชัยพฤกษ์. “สิทธิมนุษยชนกับความเท่าเทียมทางเพศ”. เอกสารวิชาการส่วนบุคคล สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ. หลักสูตรหลักนิติธรรมเพื่อประชาธิปไตย วิทยาลัยศาลรัฐธรรมนูญ สำนักงานศาลรัฐธรรมนูญ, มปป.

สุกฤติยา จักรปิง. การเป็นแม่-พ่อและการรับบุตรบุญธรรมของคู่รักร่วมเพศ อุดมการณ์ครอบครัวและมลทินสังคม: อคติของสังคมต่อคู่รักร่วมเพศ. อ้างใน Thai PBS. ครอบครัวไทยรูปแบบใหม่ภายใต้ พรบ. คู่ชีวิต. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://www.fes-thailand.org/wb/media/ Debate%20Show/Life%20 Partnership%20Act_ final.pdf [24 มีนาคม 2559].

หริณวิทย์ กนกศิลปะธรรม. “ความหลากหลายทางเพศในมุมมองของจริยศาสตร์ศาสนาคริสต์

และพุทธศาสนา Sexual diversity on Perspectives of Christian and Buddhist ethics”. วารสารอักษรศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 35 ฉบับที่ 2 (ก.ค. – ธ.ค. 2556): 2.

Bible.com/th. ปฐมกาล 1:28 TNCV: พระคริสตธรรมคัมภีร์ไทย ฉบับอมตธรรมร่วมสมัย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.bible.com/th/bible/179/GEN.1.28.TNCV [3 มกราคม 2565].

khaosod.co.th. รอบโลก: วาติกันจะไม่ให้พรการแต่งงานเพศเดียวกัน เรียกสิ่งนี้เป็นบาปและ ทางเลือก. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.khaosod.co.th/around-the-world-news/ news_6138430 [1 มกราคม 2565].

Kriangsak. เสรีนิยมคลาสสิค: เสรีภาพและอิสรภาพคือเป้าหมาย. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://kriangsakt.blogspot.com/2008/07/blog-post_07.html [29 เมษายน 2565].

KRU POR. สิทธิมนุษยชน (Human Right). [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://kittayaporn28.wordpress. com99-human-right [19 มีนาคม 2559].

Matichon.co.th. ต่างประเทศ: โป๊ปฟรานซิสหนุนการเป็นคู่ชีวิตของคนเพศเดียวกัน. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.matichon.co.th/foreign/news_2407322 [1 มกราคม 2565].