สภาพหรือภาวะทางปรากฏการณ์ชีวิต

Main Article Content

สรวิชญ์ วงษ์สอาด
ไพฑูรย์ อุทัยคาม
พระธรรมวชิรเมธี
พระครูวิบูลกิจจารักษ์

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา “สภาพหรือภาวะทางปรากฏการณ์ชีวิต” พบว่า มนุษย์เป็นสิ่งมีชีวิตที่มีอยู่และเป็นอยู่ในโลก มีการเลื่อนไหลอยู่ตลอดเวลา ซึ่งเป็นผลมาจากธรรมชาติที่ติดตัวมา คือ เสรีภาพ จิตสำนึก สัญชาตญาณ สติปัญญา ที่ดำรงชีวิตอยู่ภายใต้กรอบของวัฒนธรรม สังคม และกฎหมาย ที่ปราศจากการบิดเบือนความจริง ในระดับความคิดและการกระทำ ที่เรียกว่า ความรับผิดชอบ ด้วยความกล้าหาญ และซื่อสัตย์ เพื่อให้มนุษย์สามารถสร้างคุณค่าและดำรงชีวิตอยู่ได้ด้วยตัวเอง โดยอาศัยการเผชิญหน้ากับธรรมชาติ ที่มีจิตสำนึกรู้ สติปัญญา และเสรีภาพ ในการยอมรับหรือปฏิเสธสรรพสิ่งตามความเป็นจริง โดยความมีอยู่และความเป็นอยู่ของตนเอง จนสามารถมีชีวิตอยู่อย่างอิสระได้ ในท่ามกลางสังคมและสิ่งแวดล้อมที่เต็มไปด้วยความขัดแย้งและไม่แน่นอน โดยการเชื่อมั่นในตนเอง และความรับผิดชอบต่อสิ่งที่ตนกระทำในฐานะที่เป็นส่วนหนึ่งของอุดมคติของมนุษย์ที่ตระหนักรู้ถึงเสรีภาพอันเป็นธาตุแท้ของมนุษย์นั้นเอง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กีรติ บุญเจือ. (2522). ชุดปัญหาปรัชญา: ปรัชญาลัทธิอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

________. (2522). ปรัชญาอัตถิภาวนิยม. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

โกมุท ทีปวัฒนา. (2530). ปรัชญาเอ็กซิสเทนเชียล. กรุงเทพมหานคร : สมิต.

จินตนา ดำรงค์เลิศ. (2548). “100 ปี ชาตกาลของชอง-ปอล ซาตร์”. วารสารราชบัณฑิตยสถาน ปีที่ 30 ฉบับที่ 4 ตุลาคม-ธันวาคม, 1093.

จุฑาทิพย์ อุมะวิชนี. (2552). สหวิทยาการมนุษยศาสตร์: มิติแห่งมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : ธรรมศาสตร์.

ฌัง-ปอล ซาตร์. (2540). ปรัชญาเอ็กซิเทนเชียลิสม์ก็คือมนุษยนิยม. แปล และเรียบเรียงโดย วิทยา เศรษฐวงศ์. กรุงเทพมหานคร : ธรรมชาติ.

พระธรรมโกศาจารย์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2551). เปรียบเทียบแนวคิดพุทธทาสกับซาร์ตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2544). ปรัชญากรีก: บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพมหานคร : ศยาม.

พินิจ รัตนกุล. (2549). ปรัชญาชีวิต ฌอง ปอล ซาร์ตร์. พิมพ์ครั้งที่ 6. กรุงเทพมหานคร : สามัญชน.

โยสไตน์ กอร์เดอร์. (เขียน) สายพิณ ศุพุทธมงคล (แปล). (2553). โลกของโซฟี : เส้นทางจินตนาการสู่ประวัติศาสตร์ปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 11. กรุงเทพมหานคร : โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

วิทยา เศรษฐวงศ์. (2536). แนวคิดของซาร์ตร์ว่าด้วยความรับผิดชอบ. วิทยานิพนธ์อักษรศาสตร์ดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สมภาร พรมทา. (2538). มนุษย์กับการแสวงหาความจริงและความหมายของชีวิต. กรุงเทพมหานคร : พุทธชาด.

ศรุตานนท์ ไรแสง. (2561). “ปรากฏการณ์ลัทธิอัตถิภาวนิยมในบทเพลงของศิลปินวงบอดี้สแลม”. วารสารพุทธมัคค์ ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สานักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม ปีที่ 3 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม-ธันวาคม.

อดิศักดิ์ ทองบุญ. (2533). คู่มืออภิปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

________. (2546). คู่มืออภิปรัชญา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

Albert Camus. (1955). The Myth of Sisyphus and Other Essays by Albert Camus. Translated by Justin O’brien. UK : Alfred A. Knopf. Inc.. Renewed.

Jean-Paul Sartre. (1947). Existentialism is a Humanism. Translated by Carol Macombre. Edited by John Kulka. London: Yale University press.

________. (1947). Existentialism is a Humanism. Translated by Carol Macombre. Edited by John Kulka. London : Yale University press.

________. (1957). Being and Nothingness. Translated by Hazal E. Branes. USA : University of Colorado.

________. (1959). Transcendence of the Ego. translated and annotated with an introduction by Forrest and Robert Kirkpatric. New Yok : Noonday Press.

________. (1975). Existentialism is a Humanism. Source : Existentialism from Dostoyevsky to Sartre. Translator: Walter Kaufman.

________. (2007). Existentialism is a Humanism. translated by Carol Macomber. [London : Yale University press.

Jeremy Harwood. (2010). Philosophy : A beginner’s guide to the ideas of 100 great thingers. London: Quercus publishing.

Norman N. Greene. (1960). Jean Paul Sartre : The Existentialist Ethic. USA : The University of Michigan Press.

Phramaha Prayoon Mererk. (1988). Selflesness in Sartre’s Existetialism and early Bubbhism. Bangkok : Mahachulalongkorn Buddhist University.

Sartre. (1943). L'Etre et le Néant. Paris : Gallimard.

Sartre. Jean-Paul. (1957). Being and Nothingness. translated by Hazal E. Branes. USA. University of Colorado.

Søren Kierkegaard. (1983). Fear and Trembling and Repetition. Tr. Howard V. Hong and Edna H. Hong. Princeton. NJ : Princeton University Press.