สติปัฏฐาน 4 : ครูโค้ช
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้เป็นบทความวิชาการเกี่ยวกับการใช้สติปัฏฐานมาช่วยในการสอนของครู ผู้สอนต้องเปลี่ยนบทบาทจากการสอน หรือการถ่ายทอดความรู้มาเป็นโค้ชของผู้เรียน เนื่องจากการเรียน การสอนในศตวรรษที่ 21 ผู้เรียนสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ได้อย่างรวดเร็ว การพัฒนาศักยภาพของผู้เรียนจะต้องบูรณาการหลักสติปัฏฐาน 4 ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ แสดงออกซึ่งความรัก ความห่วงใย ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้ายที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส สติปัฏฐานมี 4 อย่าง คือ การตามพิจารณา ๑) กาย ๒) เวทนา ๓) จิต และ ๔) ธรรมให้เห็นตามความเป็นจริง โดยใช้สติ สัมปชัญญะและความเพียรพยายามก็จะทำให้จิตไม่ตกอยู่ในอกุศลที่เกิดจากความคิดปรุงแต่งทั้งหลายที่ผิดซึ่งเป็นเหตุให้เกิดทุจริตต่าง ๆ
แนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนในศตวรรษที่ 21 จึงจะต้องบูรณาการหลักสติปัฏฐาน 4 ในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เหมาะสม จัดสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ แสดงออกซึ่งความรัก ความห่วงใย ไม่ถูกครอบงำด้วยความยินดียินร้ายที่ทำให้มองเห็นเพี้ยนไปตามอำนาจกิเลส มี 4 อย่าง คือ กาย เวทนา จิต และธรรม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
การโค้ช (Coaching) คืออะไร ? มีกระบวนการอย่างไร ?. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://www.urbinner.com[30 กันยายน 2565].
เกรียงศักดิ์ นิรัติพัฒนะศัย. Untold story of executive coaching in Thailand. (กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพธุรกิจมีเดีย, 2555).
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาเตปิฏก. 2500. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, 2506.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2539.
พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์. กรุงเทพมหานคร : บริษัท สหธรรมิก จํากัด, 2539.
พระโสภณมหาเถระ (มหาสีสยาดอ). มหาสติปัฏฐานสูตร ทางสู่พระนิพพาน. (กรุงเทพมหานคร: ห้างหุ้นส่วนจํากัดไทยรายวันการพิมพ์, 2549).
เพลินตา พรหมบัวศรี และ อรพิน สว่างวัฒนเศรษฐ์. การพัฒนาครูโค้ชในศตวรรษที่ 21. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ. 11(1).
วิชัย วงษ์ใหญ่ และ มารุต พัฒผล. การโค้ชเพื่อการรู้คิด. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์, 2557).
สถาบันโค้ชไทย. คู่มือโค้ชไทย. กรุงเทพมหานคร: สถาบันโค้ชไทย, 2560.
สมาพร มณีออน. การพัฒนาครูในศตวรรษที่ 21 โดยใชเทคนิคการโคช. วารสารศึกษาศาสตรมหาวิทยาลัยศิลปากร. 15(2). 61-73.
Concisc Oxford English Dictionary. Twelfth Edition, 2011, p.354.
Jowett, S. Coaching effectiveness: the coach–athlete relationship at its heart. Current Opinion in Psychology, 16(2017):
Kennedy, M. D. Gangs and public policy: Constructing and deconstructing gang databases. Criminology & Public Policy. 8(2009).
Kolb, Y. A. & Kolb, A. D. Learning Styles and Learning Spaces: Enhancing Experiential Learning in Higher Education. Academy of Management Learning & Education, 4(2), (2005):
Lindberg, L. D. et al. Changes in adolescents’ receipt of sex education. Journal of Adolescent
Health, 58(6),
อธิษฐาน์ คงทรัพย์. ทักษะการโค้ช. [ออนไลน]. แหล่งที่มา: https://www.leadershipforfuture.com[30 กันยายน 2565].