ศึกษาแนวทางการส่งเสริมการรักษาศีล ๕ ของชุมชนเขตวัดหว่านบุญจังหวัดปทุมธานี

Main Article Content

พระมหาคมสันต์ คุณธารี

บทคัดย่อ

บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 3 ข้อ (1) เพื่อศึกษาสภาพปัญหาการรักษาศีล 5 ของชุมชนวัดหว่านบุญ จังหวัดปทุมธานี (2) เพื่อศึกษาการรักษาศีล5ของชุมชนวัดหว่านบุญ จังหวัดปทุมธานี (3) เพื่อศึกษาแนวทางส่งเสริมการรักษาศีล5 ของชุมชนวัดหว่านบุญ จังหวัดปทุมธานี ซึ่งเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ/ภาคสนาม  ผู้ให้ข้อมมูลสำคัญ คือประชาชนทั่วไป เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคือแบบสัมภาษณ์เชิงลึก การวิเคราะห์ข้อมูลโดยเขียนในเชิงพรรณนา ผลการวิจัยพบว่า สภาพปัญหาปัจจุบันนี้เป็นมีอาชญากรรมที่ร้ายแรงทั้งหมดเป็นเรื่องของการละเมิดศีล 5 ที่มีสื่อนำเสนอทุกวันตามหน้าหนังสือพิมพ์หรือทางโทรทัศน์ซึ่งเยาวชนได้รับข่าวสารตามสื่อต่างๆทุกวันนี้มี อุบัติเหตุต่าง ๆ ล้วนแต่เกิดมาจากของมึนเมาและสิ่งเสพติดเหล่านั้น การรักษาศีล 5 เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเป็นปกติ ในการงดเว้นจากบาปทั้งหลายทั้งปวงสำรวมอดทน อดกลั้น ต่อโลภะ โทสะ โมหะ ไม่ล่วงละเมิดผู้อื่นด้วยกาย หรือด้วยวาจา เพื่อให้เกิดความปกติเรียบร้อย สงบสุขในสังคม แนวทางการแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนแก้ปัญหาส่วนบุคคลและสังคมได้ เพื่อลดปัญหาต่างๆ แต่การรักษาศีล 5 ต้องมีความพร้อมทั้ง ด้านกาย ด้านสังคม ด้านจิตใจ ที่จะเป็นตัวช่วยในการส่งเสริมเยาวชนในชุมชนเกิดการเรียนรู้ในการรักษาศีล 5 อย่างถูกต้องและไม่ประพฤติผิดในศีลด้วยวิธีการต้องมีสติและความกลัวต่อบาปต่อไป


อุบัติเหตุต่าง ๆ ล้วนแต่เกิดมาจากของมึนเมาและสิ่งเสพติดเหล่านั้น การรักษาศีล ๕ เป็นสิ่งที่ทำให้เกิดความเป็นปกติ ในการงดเว้นจากบาปทั้งหลายทั้งปวงสำรวมอดทน อดกลั้น ต่อโลภะ โทสะ โมหะ ไม่ล่วงละเมิดผู้อื่นด้วยกาย หรือด้วยวาจา เพื่อให้เกิดความปกติเรียบร้อย สงบสุขในสังคม แนวทาง
การแก้ปัญหาให้กับคนในชุมชนแก้ปัญหาส่วนบุคคลและสังคมได้ เพื่อลดปัญหาต่างๆ แต่การรักษาศีล ๕ ต้องมีความพร้อมทั้ง ด้านกาย ด้านสังคม ด้านจิตใจ ที่จะเป็นตัวช่วยในการส่งเสริมเยาวชนในชุมชนเกิดการเรียนรู้ในการรักษาศีล ๕ อย่างถูกต้องและไม่ประพฤติผิดในศีลด้วยวิธีการต้องมีสติและความกลัวต่อบาปต่อไป

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, คู่มือการดําเนินงานโครงการสร้างความปรองดองสมานฉันท์โดยใช้หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา“หมู่บ้านรักษาศีล5”, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์สํานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, 2557), หน้า 23

นภัสวรรณ บุญยัษเฐียร, การพัฒนาพฤติกรรมที่ดีของบุคคลโดยใช้หลักศีล 5 วารสาร มจร พุทธโสธรปริทรรศน์ ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2546), หน้า 63

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต), พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ, พิมพ์ครั้งที่ 11, (กรุงเทพมหานคร: บริษัท สหธรรมิก จำกัด, 2549), หน้า 448.

มนตรี เมฆะวิภาต, แนวทางการรักษาศีลของเยาวชนไทยยุค 4.0, วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ 8 ฉบับที่ 1 (มกราคม –เมษายน 2565

พระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต), พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์, พิมพ์ครั้งที่ 11, (กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2546), หน้า 245

พุทธทาสภิกขุ, ทาน ศีล ภาวนา, (กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์สุขภาพใจ, 2539), หน้า 56- 57

พระมหาสิทธิการ (เยื้อน กลฺยาณธโร), หลักสูตรนักธรรมและธรรมศึกษาชั้นตรี, (กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์เลี่ยงเชียง, 2534), หน้า 15