การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดคงคาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์ศึกษาเรื่อง “การอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดคงคาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี” พบว่า คัมภีร์โบราณของวัดคงคารามที่มีความสำคัญทางด้านพระพุทธศาสนา ด้านประวัติศาสตร์ชุมชน ด้านวัฒนธรรมชุมชน และด้านภูมิปัญญาชุมชน โดยทางวัดคงคารารามมีกรรมวิธีการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลาน คือ (1) กรรมวิธีจารคัมภีร์ใบลาน (2) การห่อคัมภีร์ใบลาน (3) ป้ายบอกชื่อคัมภีร์ใบลาน (4) การใช้เชือกมัดคัมภีร์ใบลาน (5) สถานที่และอุปกรณ์ที่จัดเก็บรักษาคัมภีร์ใบลาน (6) การซ่อมแซมและบำรุงรักษาคัมภีร์ใบลานให้คงอยู่ตลอดไป และ (7) การแผยแพร่ความรู้ต่าง ๆ เกี่ยวกับคัมภีร์ใบลานให้สาธารณะชนได้เรียนรู้ ซึ่งเป็นแนวทางการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานของวัดคงคาราม
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
กลุ่มหนังสือตัวเขียนและจารึก. บัญชีสังเขปเอกสารโบราณประเภทคัมภีร์ใบลาน วัดคงคาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. สำนักหอสมุดแห่งชาติ: กรมศิลปากร กระทรวงวัฒนธรรม.
ปรียานุช อนุสุเรนทร์ “การศึกษาวิเคราะห์คัมภีร์ที่ใช้เทศน์ในเทศกาลเข้าพรรษาของล้านนา: กรณีศึกษาจาก 4 วัด ในจังหวัดเชียงใหม่และลําพูน”. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2540.
พระครูสันตยาภิรัต (สันติ สนฺติกโร) และคณะ. แนวทางการอนุรักษ์คัมภีร์ใบลานวัดคงคาราม อำเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี, วารสารวิชาการสถาบันพัฒนาพระวิทยากร. ปีที่ 6 ฉบับที่ 1. มกราคม-มีนาคม 2566.
พระครูสุจิณเขมคุณ เขมาภิรโต (ฤทธิ์แคล่ว). “ศึกษาคุณคาประเพณีสงกรานตที่มีตอชุมชน : กรณีศึกษาชุมชนบ้านใหม่สุขเกษม อำเภอกงไกรลาศ จังหวัดสุโขทัย”. วิทยานิพนธิ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2558.
พระชยานันทมุนี และคณะ, “การสืบค้นการจัดระบบอนุรักษ์เอกสารคัมภีร์โบราณของวัดและถ่ายทอดภูมิปัญญาล้านนาเพื่อสร้างแหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่นของจังหวัดน่าน”, รายงานการวิจัย, สถาบันวิจัยพุทธศาสตร์: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, 2559.
พระอาจารย์อะเฟาะ เทพกวีศรีชาวมอญ, ปุมปมาสิทธิ, มปพ.
พิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดคงคาราม, ประวัติพิพิธภัณฑ์พื้นบ้านวัดคงคาราม, ราชบุรี: วัดคงคาราม, 2553.
สถาบันวิจัยวลัยรุขเวช มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. ภูมิปัญญาท้องถิ่น. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: http://walai.msu.ac.th/walai/local%20wisdom.php [สืบค้น วันที่ 23 เมษายน 2565].
สมชาย นิลอาธิ, โลกทัศน์จากคัมภีร์ใบลาน: คติชนและวิถีชีวิต. เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการ, การสำรวจสถานภาพองค์ความรู้จากคัมภีร์ใบลานภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทย. มหาสารคาม: โครงการอนุรักษ์ใบลาน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, 2555.
สินีนาฏ สมบูรณ์อเนก. “พุทธศิลป์ล้านนา: คุณค่า ศรัทธา และการอนุรักษ์”. ศูนย์วิจัยและบริการวิชาการ คณะสังคมศาสตร์: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 2555.
อรวรรณ กองพิลา. ความหมายของประวัติศาสตร์ท้องถิ่น. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา: https://shorturl.asia/X79An [สืบค้น วันที่ 23 เมษายน 2565].