มนุษย์กับวงจรชีวิต

Main Article Content

อัจฉราพร ฉากครบุรี
ผศ.(พิเศษ) ดร.สรวิชญ์ วงษ์สะอาด
ผศ. ดร.วรากรณ์ พูลสวัสดิ์

บทคัดย่อ

บทความนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา  “มนุษย์กับกระบวนการของชีวิต”ถือว่า พบว่า  กระบวนการของชีวิตประกอบด้วยนาม รูป หรือวิวัฒนาการมาจากนาม รูป โดยอาศัยเหตุปัจจัยเป็นตัวการสำคัญกระบวนการของชีวิตตามหลักของปฏิจจสมุปบาทที่เป็นเหตุปัจจัยสร้างกระบวนการของชีวิต 2 ประการใหญ่ๆ นั้นคือ ปัจจัยภายนอกและปัจจัยภายใน เรียกว่า ปรโตโฆษะบ้าง กัลยาณมิตรบ้าง ปาปมิตรบ้าง โยนิโสมนสิการบ้าง เหตุปัจจัยเหล่านี้ซึ่งเป็นลักษณะของลูกโซ่ เป็นเหตุเป็นปัจจัยแก่กันและกันในรูปของ วงจรชีวิต เพราะกระบวนชีวิตเป็นกระบวนการปฏิจจสมุปบาทที่สัมพันธ์กัน ไม่มีต้น ไม่มีปลาย หรือเรียกว่า กระบวนการของชีวิตที่ประกอบด้วยรูปกับนาม ซึ่งรูปนามนี้จะเกิดขึ้นและดับลง นั้นเอง

Article Details

How to Cite
ฉากครบุรี อ. ., วงษ์สะอาด ส., & พูลสวัสดิ์ ว. (2025). มนุษย์กับวงจรชีวิต. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ , 11(1), 342–355. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/266423
บท
บทความวิชาการ

References

พระมหาประยูร ธมฺมจิตฺโต. (2532). พุทธปรัชญาเถรวาท ปรัชญาบุรพาทิศ. กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระราชวรมุนี (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). (2544). ปรัชญากรีก บ่อเกิดภูมิปัญญาตะวันตก. กรุงเทพมหานคร : ศยาม.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาไทย. ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วิทย์ วิศทเวทย์, (2520). ปรัชญาทั่วไป มนุษย์ โลก และความหมายของชีวิต, พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์พิมพ์.

สุนทร ณ รังสี. (ม. ป. ป.). ปรัชญาอินเดีย ประวัติและลัทธิ, พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุภญาณ ศิยะญาโณ. (2545) โลกความรู้ พัฒนาการทางปัญญาของมนุษย์ชาติ. กรุงเทพมหานคร : เคล็ดไทย.

Skinner, B. F.. (1853). Science and Human Behavior. New York: Free Press.