หลักคำสอนเชิงปรัชญาศาสนาพราหมณ์-ฮินดู

Main Article Content

สมเพลิน ชนะพจน์
ผศ. (พิเศษ) ดร. สรวิชญ์ วงษ์สอาด

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเรื่อง “หลักคำสอนเชิงปรัชญาศาสนาพราหมณ์-ฮินดู” เริ่มต้นจากการเกิดขึ้นของชนชาติอารยัน และเกิดวิวัฒนาการทางความเชื่อในสังคมแต่ละยุคแตกต่างกัน พระพรหมได้รับการยกย่องให้เป็นเทพเจ้าสูงสุดตลอดกาล คัมภีร์พระเวทเป็นคัมภีร์หลัก พราหมณ์เป็นผู้ทำหน้าที่ติดต่อระหว่างเทพเจ้ากับมนุษย์ คำสอนสำคัญเรื่องหลักอาศรม ๔ หลักการปฏิบัติระหว่างบุคคล หลักปรมาตมันและหลักโมกษะ แนวคิดเชิงปรัชญาจากลัทธิครูทั้ง ๖ คือ ลัทธินยายะ ลัทธิไวเศษิกะ ลัทธิสางขยะ ลัทธิโยคะ ลัทธิมีมางสาและลัทธิเวทานตะ มีความเชื่อเรื่องพรหมันและโมกษะ ตามหลักคำสอนเชิงปรัชญาศาสนาพราหมณ์-ฮินดู


 

Article Details

How to Cite
ชนะพจน์ ส., & วงษ์สอาด ผ. (พิเศษ) ด. ส. (2025). หลักคำสอนเชิงปรัชญาศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ , 11(1), 402–418. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/273694
บท
บทความวิชาการ

References

เดือน คำดี. (๒๕๓๑). ศาสนาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตร์ศาสตร์.

ทองหล่อ วงศ์ธรรมา. (๒๕๓๕). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮาร์.

บุญมี แท่นแก้ว. (๒๕๔๖). ประวัติศาสนาต่างๆและปรัชญาธรรม. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮาร์.

________. และคณะ. (๒๕๒๙). ปรัชญาเบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

ประทีป สาวาโย. (๒๕๔๕). สิบเอ็ดศาสนาของโลก. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

ประยงค์ แสนบุราณ. (๒๕๔๗). ปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้ง.

ประเวศ อินทองปาน. (๒๕๕๓). พุทธปรัชญาในพระไตรปิฎก. พิมพ์ครั้งที่ ๓. กรุงเทพมหานคร: สำนักส่งเสริมและฝึกอบรมมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

ไพฑูรย์ พัฒน์ใหญ่ยิ่ง. (๒๕๓๐). ความคิดสำคัญในปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: โอเอสพริ้นติ้งเฮาร์.

ฟื้น ดอกบัว. (๒๕๔๕). ปวงปรัชญาอินเดีย. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.

มหาจุฬาฯ วิชาการ. ๒๕๓๒. พุทธศาสตร์และสังคมศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

ราชบัณฑิต. (๒๕๔๖). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒. กรุงเทพมหานคร: ศิริวัฒน์อินเตอร์พริ้น.

สมภาร พรมทา. (๒๕๔๑). ภควัทคีตา (บทเพลงแห่งองค์ภควัน). พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.

สมัคร บุราวาศ. (๒๕๑๖). ปรัชญาพราหมณ์สมัยพุทธกาล. กรุงเทพมหานคร: อักษรไทย.

สุนทร ณ รังษี. (๒๕๓๗). ปรัชญาอินเดีย: ประวัติและลัทธิ. พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุมาลี มหณรงค์ชัย. (๒๕๖๒). ทางสายกลางแบบพุทธพราหมณ์เชน. กรุงเทพมหานคร: ศยาม.

อดิศักดิ์ ทองบุญ. (๒๕๔๐). ปรัชญาอินเดียร่วมสมัย. กรุงเทพมหานคร: ราชบัณฑิตยสถาน.

อารี วิชาชัย. (๒๕๔๓). ปรัชญาธรรมของศาสนาพราหมณ์-ฮินดู. กรุงเทพมหานคร: ภาควิชาปรัชญาและศาสนา คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.