พระพุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒)

Main Article Content

นายธนะกิจ อินยาโส

บทคัดย่อ

หนังสือเล่มนี้มีชื่อเรื่อง “พระพุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองใน รัชสมัยพระบาทสมเด็จ       พระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒) ” ผู้เขียนโดย “สายชล สัตยานุรักษ์” หนังสือของท่านเคยเป็นที่ยอมรับกันมานานว่าชนชั้นในระยะแรกตั้งกรุงรัตนโกสินทร์พยายามที่จะฟื้นฟู “ความเป็นกรุงศรีอยุธยาขึ้นมาใหม่งานเขียนทางประวัติศาสตร์ในระยะ ๔-๕ ปีที่ผ่านมาให้ภาพของสมัยต้นรัตนโกสินทร์ที่มีความเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลง ซึ่งแสดงให้เห็นถึงปฏิสัมพันธ์ระหว่างความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมกับความคิดของชนชั้นนำในต้นรัตนโกสินทร์ก่อนการทำสนธิสัญญาเบาริง พ.ศ. ๒๓๙๘ ผลงานของท่านสร้างแรงบันดาลใจและช่วยให้เห็นถึงคู่ทางที่จะศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดทางพระพุทธศาสนาของไทยในยุคเริ่มตันของสมัยรัตนโกสินทร์ที่ยังไม่ได้ถูกนำมาใช้เพื่อการศึกษาประวัติศาสตร์ความคิดของไทยอย่างจริงจังในสมัยรัชกาลที่ ๑ เป็นระยะหัวเลี้ยวหัวต่อที่สำคัญระยะหนึ่งในประวัติศาสตร์ไทย เพราะนอกจากจะเป็นระยะที่ราชอาณาจักรอยุธยาได้แตกสลายลงและมีการสถาปนาระบบการเมืองขึ้นมาใหม่แล้ว ยังเป็นระยะที่มีความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมมาก

Article Details

How to Cite
อินยาโส น. (2025). พระพุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕ - ๒๓๕๒). วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ , 11(1), 419–429. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/Palisueksabuddhaghosa/article/view/273695
บท
บทความวิจารณ์หนังสือ

References

สายชล สัตยานุรักษ์. พระพุทธศาสนากับแนวคิดทางการเมืองในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลก (พ.ศ. ๒๓๒๕-๒๓๕๒). ภาควิชาประวัติศาสตร์คณะมนุษยศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ๒๕๔๖.