มุมมองการคิดเชิงบวกของนักศึกษามหาวิทยาลัย เกี่ยวกับสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019 (โรคโควิด-19)

Main Article Content

กัลยา แก้วสม
ชลธิชา จับคล้าย
ณฐกร นิลเนตร
นำพิชญ์ ธรรมหิเวศน์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ
การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยและประเทศต่าง ๆ ทั่วโลก ซึ่งผลกระทบที่เกิดขึ้นนั้นมีทั้งต่อด้านสุขภาพ ด้านระบบสาธารณสุข ด้านการศึกษา ด้านเศรษฐกิจและสังคม รวมถึงด้านความมั่นคงของชาติในหลายประเทศทั่วทุกมุมโลก สถานการณ์การระบาดทำให้มีผู้ป่วยถึง 179 ล้านราย และมีผู้เสียชีวิตกว่า 3.8 ล้านราย ดังนั้น ความเครียด จึงเป็นผลกระทบที่เกิดขึ้นจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด-19 ซึ่งสาเหตุของความเครียดอาจเกิดได้จากความกังวลต่อสถานการณ์ การเข้าถึงการรักษาและวัคซีนได้อย่างยากลำบาก การหยุดชะงักของเศรษฐกิจ การว่างงาน หรือแม้กระทั่งการไม่สามารถใช้ชีวิตประจำวันได้ตามปกติเหมือนก่อน การคิดเชิงบวกจึงเป็นกลวิธีสำคัญในการจัดการกับอารมณ์โดยการปรับเปลี่ยนความรู้สึก ผ่อนคลายความเครียด ลดความวิตกกังวล เพิ่มความพึงพอใจในชีวิต และการใช้ชีวิตร่วมกับผู้อื่น

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2564). แนวทางการให้วัคซีนโควิด 19 ในสถานการณ์การระบาดปี 64 ของประเทศไทย. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข.

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). [web blog]. สืบค้นจาก https://ddc.moph. go.th/viralpneumonia/index.php

กระทรวงสาธารณสุข, กรมควบคุมโรค. (2564). สรุปสถานการณ์ให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19. [web blog]. สืบค้นจาก https://ddc.moph.go. th/uploads/ckeditor2//files/Slide%202021-06-26.pdf

เกสร มุ้ยจีน. (2559). การสร้างความสุขด้วยจิตวิทยาเชิงบวก (Creating happiness with positive psychology). วารสารวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 24, 673-681. doi:10.14456/ tstj.2016.54

คณิน จินตนาปราโมทย์, พรชัย สิทธิศรัณย์กุล. (2019). สรีรวิทยาความเครียดจากการทำงาน และการแก้ปัญหาเมื่อเผชิญความเครียดในอาชีพแพทย์ (Physiology of stress in the aspect of job stress and coping in medical professional). J Med Health Sci, 26(2), 112-123.

ชุติกาญจน์ แซ่ตั้น, ศศิกานต์ กาละ, สุนันทา ยังวนิชเศรษฐ. (2561). ผลของโปรแกรมการคิดเชิงบวกและการผ่อนคลายต่อการลดความเครียดในหญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (Effect of positive thinking and relaxation program on reducing stress among pregnant adolescents). วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์, 10(1), 27-39.

ณรงค์ ใจเที่ยง. (2559). ความสัมพันธ์กับการจัดการความเครียดของนักศึกษามหาวิทยาลัยเกริก. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,มหาวิทยาลัยเกริก.

ธิดา ครูแก้ว, ดาราภร โชติพณิช, พรรณปพร ดิษบรรจง, ภิญญ์นารี วงศ์อนันต์ และ อนุชา บูราณ, กิตติพงษ์. (2560). ประเภทของการออกกำลังกายกับความเครียดของนิสิตแพทย์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ (Type of exercise and stress in medical students at Srinakharinwirot University). เวชสารวิทยาศาสตร์การแพทย์ มศว, 44-52.

นิลภา สุอังคะ. (2550). ผลของกระบวนการกลุ่มทางจิตวิทยาแบบผสม ผสานแนวคิดมนุษยนิยม และปัญญานิยมต่อความคิดเชิงบวก และความสามารถในการเอาชนะอุปสรรคของเยาวชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ปภัชญา คุณะเพิ่มศิริ. (2559). การศึกษาข้อมูลส่วนบุคคล สาเหตุของความเครียด การจัดการความเครียด และผลกระทบของความเครียดที่ส่งผลต่อการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิผลของพนักงานปฏิบัติการในเขตกรุงเทพมหานคร. การศึกษาอิสระปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

ปารเมศ เสนาสนะ, อารีย์ พุ่มประไวทย์, พิมพ์สุภา จันทนะโสตถิ์. (2560). ผลของโปรแกรมฝึกคิดเชิงบวกต่อความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้ติดยาเสพติดหญิง ในเรือนจำอำเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช (The effectiveness of the positive thinking program towards the self-esteem among addicted woman at Thung Song Prison, Nakorn Si Thammarat Province). วารสารสมาคมเวชศาสตร์ป้องกันแห่งประเทศไทย, 7(2),

-199.

พระสมุห์วัลลภ วลฺลโภ (เจสระ). (2560). การให้คำปรึกษาและการเสริมสร้างพลังความคิดเชิงบวกในผู้สูงอายุ (Counseling and elderly positive thinking empowerment). วารสารพุทธจิตวิทยา, 2(2), 28-44.

พลวัฒน์ ติ่งเพ็ชร. (2020). ปัจจัยส่งเสริมการเกิดโรคติดเชื้ออุบัติใหม่และโรคโควิด-19 (Factors contributing to the occurrence of emerging infectious diseases including COVID-19). J Med Health Sci, 27(2), 140-56.

พลวุฒิ สงสกุล. (2564). ถึงเวลายอมรับความจริงวิกฤติผู้ป่วยโควิด-19 ล้น เตียงเต็ม เรามาถึงจุดที่คนไทยต้องนอนป่วยรอความตายอยู่ในบ้าน. กรุงเทพฯ: THE STANDARD; [สืบค้นเมื่อวันที่ 26 มิ.ย. 2564]. จาก: https://thestandard.co/covid-19-crisis-is-overflowing-beds-are-full/

เพียรดี เปี่ยมมงคล. (2553). การพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.

ฤตินันท์ สมุทร์ทัย, ศักดา พรึงลำภู, อาภาพร อวดผล. (2557). พฤติกรรมสุขภาพ สุขภาพจิตและความเครียดของนักศึกษาหญิงที่พักในหอพักของมหาวิทยาลัยเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สมพร จิตรัตนพร และ ธรวันต์ ศรีอมรรัตนกุล. (2562). การสังเคราะห์งาน วิจัยที่เกี่ยวกับการนวดเพื่อรักษาปัญหาสุขภาพ (The synthesis of the research papers related to massage to treat health problems). วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิ, 236-251.

สัจจา ประเสริฐกุล, ชูศรี วงศ์รัตนะ และ ระวีวรรณ พันธ์พาณิช. (2551). การศึกษาเชิงเปรียบเทียบคุณลักษณะการคิดเชิงบวกของนักเรียนช่วงชั้นที่ 4 สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครราชสีมา เขต 7 ที่มีระดับอัตมโนทัศน์และประสบการณ์ชีวิตแตกต่างกัน [The comparative study of positive thinking for senior high school students under Nakhonratchasima education service area VII with different levels of self-concept and life experiences]. วารสารวิชาการศึกษาศาสตร์, 9(2), 133-140.

สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ. (2564). คู่มือวัคซีนสู้โควิด ฉบับประชาชน. กรุงเทพฯ. [สืบค้นเมื่อ 12 มิ.ย. 2564]. จาก: https://www.thaihealth.or.th/ Books/714/คู่มือ+วัคซีนสู้โควิด+(ฉบับประชาชน).html

สิญาธร บุญยธโรกุล. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กับการทำลายเชื้อ. นนทบุรี: กระทรวงสาธารณสุข, กรมวิทยาศาสตร์ การแพทย์; [สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2564]. จาก: https://ccpe. pharmacycouncil.org/index.php?Option=article_detail&subpage=article_ detail&id=877

สืบตระกูล ตันตลานุกูล และ ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์. (2560). ความเครียดและการจัดการความเครียดของนักศึกษาพยาบาล (Stress and stress management in nursing students). วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี อุตรดิตถ์, 9(1), 81-92.

สุรัยยา หมานมานะ, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร, สุมลมาลย์ อุทยมกุล. (2563). โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารสถาบันบำราศนราดูร, 14(2), 124-133.

สุวนีย์ เกี่ยวกิ่งแก้ว. (2554). การพยาบาลจิตเวช (Psychiatric Nursing). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ. ซิโนฟาร์ม: อย. อนุมัติ ราชวิทยาลัยจุฬาภรณ์ จัดการนำเข้าล็อตแรก 1 ล้านโดส [อินเทอร์เน็ต]. สืบค้นจาก: https://www.bbc.com/thai/thailand-57279097

อาภรณ์ สิงห์ชาดา, กุลวดี โรจน์ไพศาลกิจ และ สมใจ นกดี. (2559). ผลของโปรแกรมการจัดการความเครียดต่อความเครียดของผู้สูงอายุ (Effects of stress management program on stress of the elderly). วารสาร มฉก.วิชาการ,19, 49-60.

Deesom N. (2011). The result of a positive thinking program to the adversity quotient of matthayomsuksa VI students. IPEDR, 5.

Lazarus R. S. and Folkman S. (1984). Stress, appraisal, and coping. New York: Springer.

Naseem Z. and Khalid R. (2010). Positive thinking in coping with stress and health outcomes: Literature review. JRRE, 4, 42-61.

Smith M. J. and Selye H. (1979). Stress: reducing the negative effects of stress. AJN, 79, 1953-1955.

World Health Organization. (2020). Coronavirus disease (COVID-19) [web blog]. Cited from https://www.who.int/emergencies/ diseases/novel-coronavirus-2019/question-and-answers-hub/q-a-detail/coronavirus-disease-covid-19