จิตรกรรมทิวทัศน์ภาพอุทยานประวัติศาสตร์เมืองกำแพงเพชรในรูปแบบดิจิทัลเพ้นติ้งเพื่อเป็นภาพประกอบในการบูรณาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษสำหรับการอ่าน

Main Article Content

จิรพงศ์ ยืนยง
สุธาสินี ขุนทองนุ่ม

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

            การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาเทคนิคการการสร้างสรรค์ภาพจิตรกรรมทิวทัศน์ของอุทยานประวัติศาสตร์กำแพงเพชรในรูปแบบดิจิทัล เพ้นติ้ง จำนวน 10 ภาพ จากการสร้างสรรค์โดยกลวิธี (Technique) ปรับแต่งค่าแปรง(Brush Setting) ในโปรแกรมวาดรูป และการกลุ่มของการจัดโครงสี (Color Scheme) เพื่อใช้เป็นภาพประกอบในการบูรณาการจัดการเรียนการสอนภาษาอังกฤษในรูปแบบการอ่าน ประชากรที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักศึกษาโปรแกรมศิลปศึกษา ที่เรียนในรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกผสมหลายสื่อ จำนวน 20 คน ในปีการศึกษา 2564 โดยใช้แบบสอบถามความพึงพอใจหาค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานผลการวิจัยพบว่า ผู้ใช้มีความพึงพอใจในภาพรวมอยู่ในระดับมาก และมีความพึงพอใจเฉลี่ยทุก ๆ ด้านอยู่ในระดับมาก เรียงลำดับดังนี้ ด้านความรู้หรือด้านวิชาการ (Knowledge) ด้านทักษะทางการปฏิบัติการ (Skill Technique) และความเข้าใจทางการอ่าน (Reading) ตามลำดับ ในการนี้สามารถวิเคราะห์สรุปผลสำเร็จทางคุณค่าทางสุนทรียภาพเชิงสร้างสรรค์ของผลงานจิตรกรรม และขั้นตอนการปฏิบัติงานสร้างสรรค์ดังนี้ โดยมี พัฒนารูปแบบของมุมมองภาพ พัฒนาเนื้อหา จนไปสู่กระบวนภาพแบบร่าง (Sketch) และพัฒนาเป็นผลงานจริงขึ้นตามลำดับ โดยมีคุณค่ารูปแบบภาพประกอบ (Illustration) การใช้เทคนิคดิจิทัลเพ้นติ้ง (Digital Painting Technique) และเทคนิคความงามในการเลือกจัดโครงสี (Color Scheme Design) ต่อการออกแบบภาพวาด ผสมผสานกลมกลืนอย่างเป็นเอกภาพรูปแบบเฉพาะตัว

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

โกสุม สายใจ. (2540). เอกสารประกอบการสอนวิชาจิตรกรรมพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท..

ธิดารัตน์ แซ่ตั้ง. (2552). Comic & CG Painting (คัมภีร์วาดการ์ตูนและลงสีด้วย Photoshop). กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น จำกัด.

ประดับ มณีแสง. (2552). DIGITAL PAINTING 2 + DVD วาดภาพระบายสีด้วยคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: ประดับ มณีแสง- ดวงกมลสมัย.

ปาพจน์ หนุนภักดี. (2553). Graphic Design Principles.นนทบุรี: ไอโอดีซีฯ.

ไพโรจน์ พงศ์เลิศนัดดา. (2554). การศึกษาและพัฒนารูปแบบฉากแอนิเมชั่นแมทเพ้นติ้งจากแนวคิดของ ดีแลนโคล กรณีศึกษาภาพยนตร์ส่งเสริมความงดงามของโบราณสถานอุทยานประวัติศาสตร์สุโขทัย. ปริญญานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศุภพงศ์ ยืนยง. (2554). จิตรกรรมภาพทิวทัศน์ตามแนวลัทธิเอกซ์เพรสชันนิสม์. สักทอง: วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ [Online Serial], 17(2). Available :http://research.kpru.ac.th/Joumal _HSS /images/TGT/2554/pats2/2.pdf[2558, กรกฎาคม 3].

สุริยะ ฉายาเจริญ. (2556). ผลงานดิจิทัลอาร์ตจากงานวิจัยกรณีศึกษาผลงานสร้างสรรค์จากการสันนิษฐานรูปลักษณ์โบราณสถาน. วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 12(13), 43-47.

สุริยะ ฉายาเจริญ. (2562). การสร้างสรรค์วาดเส้น จิตรกรรมและจิตรกรรมดิจิทัล ชุด "วัดเซนโซจิ 2018". วารสารนิเทศสยามปริทัศน์, 18(24), 153-159.

A.N. Hibbing, J.L. Rankin-Erickson. (2003). A picture is worth a thousand words: Using visual images to improve comprehension for middle school struggling readers, The reading teacher, 56 (8),758.

CHAVARRO J.L.R. (2012). EFFECTS OF USING PICTURE STORYBOOKS IN READING COMPREHENSION. Bogotá. Universidad Pedagógica Nacional. P. 66.

Chun Pan. Y, Ching Pan. Yi. (2009). The effects of pictures on the reading comprehension of low-proficiency Taiwanese English foreign language college students: An action research study. VNU Journal of Science. Foreign Languages 25,pp.186-198.

E.B. Bernhardt. (1991). Reading development in a second language. New Jersey: Ablex. Nodelman, P. (1996). The pleasure of children's literature (2nd ed.). NY: Longman.

Grundvig V. (2012). Can picture books in the English classroom lead to increased reading comprehension? Retrieved December 2017, from https://brage.bibsys.no/xmlui /bitstream/handle/11250/147998/Grundvig2.pdf?sequence=2

L. R.E, Marsha. (2015). EFFECTIVE TEACHING STRATEGIES FOR IMPROVING READING COMPREHENSION IN K-3 STUDENTS. Retrieved December 2017, from http://s3.amazonaws.com/ ecommerce-prod.mheducation.com/unitas/school/explore /literacy-for-life/white-paper-ocr-effective-strategies-for-improving-reading-comprehension.pdf

Luo Y. and Lin Y. (2017). Effects of Illustration Types on the English Reading Performance of Senior High School Students with Different Cognitive Styles. English Language Teaching, Vol. 10, No. 9.

Tomlinson, CM., & Lynch-Brown, C. (1996). Essentials in children's literature (2nd ed.). Boston: Allyn & Bacon.

V. Gyselinck, H. Tardieu. (1999). The role of illustrations in text comprehension: what, when for whom, and why? In H.Vvan Oostendorp & S.R. Goldman (Eds.). The construction of mental representations during reading (pp. 195-218), Mahwah, NJ: Lawrence Erlbaum.