การบริหารทุนมนุษย์ภาครัฐในยุคดิจิทัล

Main Article Content

ชาลิสา ศิริธรรมเกตุ
อรัญญารัตน์ ศรีสุพัฒนะกุล
เสริมศักดิ์ กิตติปาลวรรธก์
วาสนา อาจสาลิกรณ์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

บทความทางวิชาการนี้ ผู้เขียนมีความต้องการนำเสนอแนวทางการบริหารทุนมนุษย์ภาครัฐในยุคดิจิทัล ซึ่งได้วางลำดับการนำเสนอเป็น 4 ส่วน ได้แก่ 1) การศึกษาการบริหารทุนมนุษย์ในแง่ความหมาย ความแตกต่างของทุนมนุษย์กับทุนทางกายภาพ 2) หลักการบริหารทุนมนุษย์ภาครัฐระดับบุคคล 3) แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับทุนมนุษย์ภาครัฐ 8 K’s และทฤษฎี 5 K’s เพื่อการบริหารและพัฒนาคุณภาพทุนมนุษย์ และ 4) เทคโนโลยีดิจิทัลกับภาครัฐและการนำไปประยุกต์ใช้ในการบริหารทุนมนุษย์

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

จีระ หงส์ลดารมภ์. (2555). ทุนมนุษย์ของคนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: มิสเตอร์ก็อปปี้.

นิสดารก์ เวชยานนท์.(2554). บทความวิชาการ มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์. สมุทรปราการ: ดี เคปริ้นติ้งเวิลด์.

สำนักงาน ก.พ. (2562). ทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล หรือ Digital literacy. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : https://www.ocsc.go.th/DLProject/mean-dlp [2562, พฤศจิกายน 1].

–––––––– . (2565). แนวทางการดำเนินการสำหรับส่วนราชการการพัฒนาทักษะความเข้าใจและใช้เทคโนโลยีดิจิทัล. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้ จาก https://www.ocsc.go.th/DLProject/process-dev, [2565, เมษายน 4].

สิทธิชัย ศรีเจริญประมง. (2556). แนวทางการพัฒนาการดำเนินการด้านทุนมนุษย์เพื่อพัฒนาคุณภาพการบริการของสายการบินในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการการท่องเที่ยวแบบบูรณาการ คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

Becker, Gary S. (1975). Human Capital : A Theoretical and Empirical Analysis, With Special Reference to Education. (2 nd. ed.). New York: Columbia University Press for NBER.

Gratton, Lynda & Ghoshal, Sumantra. (2003). Managing Personal Human Capital: New Ethos for the 'Volunteer' Employee. European Management Journal, 21(1) : 1-10.

Schultz, Theodore, W. (1961). Investment in Human Capital. American Economic Review, 51(1).