โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมเอื้อต่อสังคมของวัยรุ่นในจังหวัดสระแก้ว

Main Article Content

รัตนา มณีสุขเกษม
พูลพงศ์ สุขสว่าง

Abstract

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมเอื้อต่อสังคมของวัยรุ่นใน
จังหวัดสระแก้ว และตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นวัยรุ่น
อายุ 15-18 ปี ในจังหวัดสระแก้ว จ านวน 424 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ เครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูล คือแบบสอบถามชนิดมาตรประมาณค่า 5 ระดับ ส าหรับวัด ตัวแปรแฝง 5 ตัวแปร ได้แก่ พฤติกรรมเอื้อต่อ
สังคม การแสวงหาเป้าหมายเอื้อต่อสังคม เหตุผลของพฤติกรรม การชี้น าทางสังคม และคุณลักษณะภายในของ
บุคคล วิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วยโปรแกรม LISREL
ผลการวิจัยปรากฏว่า โมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุพฤติกรรมเอื้อต่อสังคมของวัยรุ่นในจังหวัดสระแก้ว
ที่พัฒนาขึ้น ประกอบด้วย การแสวงหาเป้าหมายเอื้อต่อสังคม เป็นสาเหตุทางตรงของพฤติกรรมเอื้อต่อสังคม
คุณลักษณะภายในของบุคคล การชี้น าทางสังคม และเหตุผลของพฤติกรรม เป็นสาเหตุทางอ้อมของพฤติกรรมเอื้อ
ต่อสังคม โดยส่งผ่านการแสวงหาเป้าหมายเอื้อต่อสังคม โมเดลที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์
ค่าสถิติไค-สแควร์ เท่ากับ 145.15 ค่า df เท่ากับ 75 ค่าไค-สแควร์สัมพัทธ์ เท่ากับ 1.94 ดัชนี GFI เท่ากับ .96 ดัชนี
AGFI เท่ากับ .93 ค่า SRMR เท่ากับ .00 ค่า RMSEA เท่ากับ .05 และตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถอธิบายความ
แปรปรวนของตัวแปรพฤติกรรมเอื้อต่อสังคมของวัยรุ่นในจังหวัดสระแก้ว ได้ร้อยละ 68
สรุปได้ว่า การแสวงหาเป้าหมายเอื้อต่อสังคม เป็นปัจจัยหลักที่ท าให้วัยรุ่นมีพฤติกรรมเอื้อต่อสังคม ส่วน
ปัจจัยเสริมที่ส่งผ่านการแสวงหาเป้าหมายเอื้อต่อสังคม ได้แก่ คุณลักษณะภายในของบุคคล การชี้น าทางสังคม และ
เหตุผลของพฤติกรรม

 

A causal relationship model of prosocial behavior among adolescents in Sa-Kaeo province

The purpose of this research was to develop and validate a causal relationship model of
prosocial behavior among adolescents in Sa-Kaeo province. The sample consisted of 424
adolescents aged between 15-18 years old in Sa-Kaeo province derived by stratified random-sampling. The research instrument was Likert-type questionnaires, consisted of five latent
variables: prosocial behavior, prosocial goal pursuit, reason for behavior, contextual cues, and
self-process. Structural equation modeling involved in the use of LISREL.
The results indicated that prosocial goal pursuit was a direct cause of prosocial behavior
among adolescents in Sa-Kaeo province. Meanwhile, self-process, contextual cues, and reason
for behavior had an indirect effect on prosocial goal pursuit of prosocial behavior. The proposed
model was consistent with empirical data. Goodness of fit statistics were: chi-square test=145.15,
df=75, relative 2=1.94, GFI=.96, AGFI=.93, SRMR=.00, and RMSEA=.05. The variables in the
proposed model accounted for 68 percent of the total variance of prosocial behavior.
In conclusion, prosocial goal pursuit was the main cause of prosocial behavior of
adolescents, while self-process, contextual cues, and reason for behavior accounted as mediators.

Article Details

Section
บทความวิจัย (Research Articles)

References

ขเคนทร์ วรรณศิริ และอรัญญา ตุ้ยค าภีร์. (2558). โมเดลเชิงสาเหตุของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของ องค์การ:

อิทธิพลของแรงจูงใจเอื้อสังคมในการท างานและบุคลิกภาพ. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา

(สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 6(12), 45-58.

ฐิตวี แก้วพรสวรรค์ และเบญจพร ตันตสูติ. (2555). การศึกษาความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัย ที่เกี่ยวข้องใน

เด็กนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่5 ในกรุงเทพมหานคร. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย, 57(4),

-402.

ดุจเดือน พันธุมนาวิน. (2550). รายงานการสังเคราะห์งานวิจัยเกี่ยวกับคุณธรรมจริยธรรมในประเทศไทยและ

ต่างประเทศ. กรุงเทพฯ: ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาพลังแผ่นดินเชิงคุณธรรม ส านักงานบริหารและพัฒนา

องค์ความรู้ (องค์กรมหาชน).

ดุลยา จิตตะยโศธร. (2553). ความสามารถในการเข้าใจทัศนของผู้อื่น: พัฒนาการทางสังคมที่น าไปสู่พฤติกรรมที่

พึงประสงค์. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย. 30(4), 144-158.

พูลพงศ์ สุขสว่าง. (2557). หลักการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์,

(2), 136– 145.

รัก ชุณหกาญจน์ และนิยะดา จิตต์จรัส. (2556). ลักษณะการให้อภัยในวัยรุ่นในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสาร

สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์. 39(1), 71-83.

วรินทร บุญยิ่ง. (2554). การพัฒนาทุนมนุษย์ในชุมชน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

วิทยาเขตปัตตานี, 22(1), 19-33.

สถาบันรามจิตติ. (2556). สภาวะการณ์เด่นด้านเด็กและเยาวชนในรอบปี 2554-2555.กรุงเทพฯ: สถาบันรามจิตติ.

ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสระแก้ว. (2557). แผนปฏิบัติการการแก้ไขปัญหาสังคม

จังหวัดสระแก้ว พ.ศ. 2557.สระแก้ว: ส านักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดสระแก้ว

ศาลากลางจังหวัดสระแก้ว ถนนสุวรรณศร อ าเภอเมืองสระแก้ว จังหวัดสระแก้ว.

ส านักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปผลที่ส าคัญ การส ารวจสภาวะทางสังคมและวัฒนธรรม พ.ศ. 2554.

กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา.

สุคนธา มหาอาชา และศิรินันท์ กิตติสุขสถิต. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างพฤติกรรมเพื่อสังคมและคุณลักษณะ

ทางประชากรและสังคมของนักเรียนไทย. การประชุมวิชาการประชากรศาสตร์แห่งชาติ. สมาคม

นักประชากรไทย, 135-146.

Caprara, G. V., Alessandri, G., & Eisenberg, N. (2012). Prosociality: The contribution of traits,

values, and self-efficacy beliefs. Journal of personality and social psychology, 102(6),

-1302.

Carlo, G., Mestre, M. V., Samper, P., Tur, A., & Armenta, B. E. (2010). Feelings or cognitions? Moral

cognitions and emotions as longitudinal predictors of prosocial and aggressive

behaviors. Personality and Individual Differences, 48(8), 872-877.

De Groot, J. I., & Steg, L. (2009). Morality and prosocial behavior: The role of awareness,

responsibility, and norms in the norm activation model. The Journal of Social

Psychology, 149(4), 425-449.

Eisenberg, N., & Fabes, R. A. (1998). Prosocial Development. In W. Damon, (Ed.), Handbook of

Child Psychology: Social, Emotional, and Personality Development 3, 701–778. New

York: Wiley.

Eisenberg, N., Eggum, N. D., & Di Giunta, L. (2010). Empathy-related responding: Associations with

prosocial behavior, aggression, and intergroup relations. Social Issues and Policy

Review, 4(1), 143-180.

Gini, G., Albiero, P., Benelli, B., & Altoe, G. (2008). Determinants of adolescents’ active defending

and passive bystanding behavior in bullying. Journal of adolescence, 31(1), 93-105.

Grant, A. M., & Berry, J. W. (2011). The necessity of others is the mother of invention: Intrinsic

and prosocial motivations, perspective taking, and creativity. Academy of Management

Journal, 54(1), 73-96.

Jennings, P. A., & Greenberg, M. T. (2009). The prosocial classroom: Teacher social and emotional

competence in relation to student and classroom outcomes. Review of educational

research, 79(1), 491-525.

Johnson, D. R. (2012). Transportation into a story increases empathy, prosocial behavior, and

perceptual bias toward fearful expressions. Personality and Individual Differences,

(2), 150-155.

Kuther, T. L. (2000). Moral reasoning, perceived competence, and adolescent engagement in

risky activity. Journal of adolescence, 23(5), 599-604.

Layous, K., Nelson, S. K., Oberle, E., Schonert-Reichl, K. A., & Lyubomirsky, S. (2012). Kindness

counts: Prompting prosocial behavior in preadolescents boosts peer acceptance and

well-being. PloS one, 7(12), e51380.