การพัฒนาโปรแกรมคำนวณคะแนนจุดตัดตามแนวคิดของ Angoff โดยประยุกต์ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาโปรแกรมคำนวณคะแนนจุดตัดตามแนวคิดของ Angoffโดยประยุกต์ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบ ซึ่งผู้วิจัยได้พัฒนาโปรแกรมในรูปแบบ Web Application การสร้างและพัฒนาโปรแกรมมี 6 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ระบบ 2) การออกแบบและสร้างฐานข้อมูล 3) การพัฒนาโปรแกรม 4) การทดสอบและปรับปรุงโปรแกรม 5) การจัดทำคู่มือการใช้โปรแกรม และ 6) การประเมินความเหมาะสมและประสิทธิภาพ
การใช้งานโปรแกรมโดยเขียนด้วยภาษา PHP, HTML5, CSS, JavaScript, jQuery และ Bootstrap ใช้ MySQL เป็นระบบฐานข้อมูล ซึ่งการประเมินความเหมาะสมของโปรแกรมโดยผู้เชี่ยวชาญจำนวน 3 คนและการประเมินประสิทธิภาพการใช้โปรแกรมโดยผู้ทดลองใช้โปรแกรม ซึ่งเป็นครูผู้สอนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 40 คน สามารถเข้าใช้งานได้ที่ www.cutoffscoreforangoff.co วิเคราะห์ระดับความเหมาะสมและความคิดเห็นด้วยสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยปรากฏว่าการประเมินความเหมาะสมในด้านต่างๆ ด้วยวิธี Black Box Testing ของโปรแกรมคำนวณคะแนนจุดตัดตามแนวคิดของ Angoffโดยประยุกต์ทฤษฎีการตอบสนองข้อสอบโดยผู้เชี่ยวชาญมีความเหมาะสมโดยภาพรวมระดับมาก (M = 4.10, SD = 0.41) และผลการประเมินความคิดเห็นของผู้ทดลองใช้โปรแกรม โดยภาพรวมมีระดับความคิดเห็นอยู่ในระดับมาก (M= 4.50, SD = 0.62) ซึ่งเป็นที่ยอมรับของผู้เชี่ยวชาญและ
ผู้ทดลองใช้โปรแกรมทั้งความสามารถของโปรแกรมและความถูกต้องของโปรแกรมสามารถนำมาประยุกต์ใช้ได้จริงอย่างมีประสิทธิภาพ
Article Details
References
เบญจมาภรณ์ เสนารัตน์, บุญชม ศรีสะอาด และจริยา ภักตราจันทร์. (2559). การพัฒนาโปรแกรมการประเมินความรู้ทางการวิจัยการศึกษาแบบปรับเหมาะด้วยคอมพิวเตอร์ออนไลน์ สำหรับนักศึกษาครู มหาวิทยาลัยราชภัฏในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยสารคาม,22(1), 164-182.
ประภัสสร วงษ์ดี, สำราญ มีแจ้ง, รัตนะ บัวสนธ์และปกรณ์ ประจันบาน. (2555). การพัฒนาวิธีการกำหนดคะแนนจุดตัดเพื่อตัดสินความรอบรู้. วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา,10(1), 38-55.
พัชรีย่าเที่ยง. (2554). การพัฒนาโปรแกรมคลังข้อสอบและระบบวิเคราะห์ข้อสอบอัตโนมัติเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการประเมินผลการศึกษา. รายงานการประชุมวิชาการมหาวิทยาลัยกรุงเทพ.ณ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ. 25 มีนาคม 2554. หน้า 728-735.
เสรี ชัดแช้มและปิยะทิพย์ ตินวร. (2550). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับประมาณค่าความเที่ยงของแบบทดสอบและแบบสำรวจ.วิทยาการวิจัยและวิทยาการปัญญา, 5(2), 103-117.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2550). ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่(พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2555). ทฤษฎีการทดสอบแนวใหม่(พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Barman, A. (2008). Standard setting in student assessment: Is a defensible method yet to come?.Annals Academy of Medicine Singapore, 37(11), 957-563.
Berk, R.A. (1986). A consumer’s guide to setting performance standards on criterion-referenced test. Review of Educational Research. 56(Spring), 137-172.
Bunderson, V. C., Inouye, D. K., & Olsen, J. B. (1989). The four generations of computerized educational measurement. In R. L. Linn (Ed.), Educational Measurement (3rd ed., pp. 367-407). New York: Macmillan.
Chapman, B. (2014). Angovianmethods for standard setting in medical education: can they ever be criterion referenced?.International Journal of Learning,Teaching and Educational Research, 4(1), 1-26.
Cizek, G.J., & Bunch, M.B. (2007). Standard Setting: A guide to establishing and evaluatingPerformance standard on tests. Thousand Oaks: SAGE Publications.
Elliott, G. (2004). Global Business Information Technology: An Integrated Systems Approach. Ontario: Pearson Addison Wesley.
Ferdous, A. &Plake, B. S. (2005). The use of subsets of test questions in an Angoff standard settingmethod. Educational and Psychological Measurement, 65(2), 185-201.
Gronlund, N.E. (1982). Construting Achievement Test. (3rd ed). Englewood Cliffs, New Jersey: Prentice Hall.
Hejri, S. M., & Jalili, M. (2014). Standard setting in medical education: Fundamental concepts and emerging challenges. Medical Journal of the Islamic Republic of Iran, 28, 34.
Jalili, M., Hejri, S. M., &Norcini, J. J. (2011). Comparison of two methods of standard setting: the performance of the three-level Angoff method. Medical education, 45(12), 1199-1208.
Kane, M.T. (1994). Validationg the performance standards associated with passing scores. Review ofEducational Research, 64(3), 425-461.
Kendall, K.E., & Kendal. (1992). System Analysis and Design. (2nded.). New Jersey: Prentice-Hall.
Khumyoo, T., Chadcham, S., &Chinnasarn, K. (2013). Diagnostic of English reading skill by applying the attributes hierarchy model and computerized adaptive testing. Research Methodology & Cognitive Science, 10(2). 55-70. (in Thai)
Olsen, J. B., & Smith, R. (2008). Cross validating modified Angoff and Bookmark standard setting for a home inspection certification. In annual meeting of the National Council on Measurement in Education, New York.
Plake, B.S. & Giraud, G. (1998). Effect of A Modified Angoff Strategy for obtaining Item Performance Estimate in a Standard Setting Study. Paper Present at The Annual Meeting of the American Educational Research Association, San Diego, California.
Shepard, L. (1994). Implications for standard Setting of the NAE Evaluation of NAEP Achievement Levels. Paper presented at the Joint Conference on Standard Setting for Large Scale Assessments. Washington: U.S. Government Printing Office
Smith, R. W., Davis-Becker, S. L., & O’Leary, L. S. (2014). Combining the best of Two Standard Setting Methods: the Ordered Item Booklet Angoff. Journal of Applied Testing Technology, 15(1), 18-26
Sukhanonsawat, S., Chadcham, S., &Chinnasarn, K. (2013). Development of the next item selection procedure using decision theory in computerized adaptive testing. Research Methodology & Cognitive Science, 10(2). 71-85. (in Thai)
Zieky, M. J., Perie, M., & Livingston, S. A. (2008). Cutscores: A manual for setting standards of performance on educational and occupational tests. New Jersey: Educational Testing Service.