ภาพลักษณ์องค์กรและความไว้วางใจที่ส่งผลต่อความจงรักภักดี กรณีศึกษา ผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนตํ่าในประเทศไทย

Main Article Content

มุกดา อัยวรรณ
ชาตยา นิลพลับ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาพลักษณ์องค์กรและความไว้วางใจที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนตํ่าในประเทศไทย โดยมีกลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนตํ่าในประเทศไทยจำนวน 430 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าความถี่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และใช้สถิติเชิงอนุมานเพื่อทดสอบ สมมติฐานโดยการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัยพบว่า ภาพลักษณ์องค์กรด้านเอกลักษณ์องค์กร (gif.latex?\beta= 0.104) และด้านชื่อเสียง (gif.latex?\beta = 0.140) ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนความไว้วางใจด้านความเมตตากรุณา (gif.latex?\beta= 0.165) และด้านความซื่อสัตย์ (gif.latex?\beta= 0.386) ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการที่ระดับ 0.01 และความไว้วางใจ ด้านความสามารถ (gif.latex?\beta= 0.116) ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการที่ระดับ 0.05 ทั้งนี้ตัวแปรอิสระ ทุกตัวสามารถร่วมพยากรณ์ความภักดีของผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนตํ่าร้อยละ 68.3 (AdjR2 = 0.683)

Article Details

How to Cite
อัยวรรณ ม., & นิลพลับ ช. (2021). ภาพลักษณ์องค์กรและความไว้วางใจที่ส่งผลต่อความจงรักภักดี กรณีศึกษา ผู้ใช้บริการสายการบินต้นทุนตํ่าในประเทศไทย. วารสาร มทร.อีสาน ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), 34–50. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/RMUTI_SS/article/view/248622
บท
บทความวิจัย

References

กวินพัฒน์ ปรางสวรรค์. (2559). ความเป็นมืออาชีพและความมีนวัตกรรมของสำนักงานบัญชีที่ส่งผลต่อความพึงพอใจความไว้วางใจและความภักดีของผู้ใช้บริการในกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

จิราภรณ์ สีขาว. (2560). ภาพลักษณ์องค์กร. เข้าถึงเมื่อ (18 กันยายน 2562). เข้าถึงได้จาก (www.thaihotelbusiness.com/articles)

ชลดา ไชยกุล. (2555). ภาพลักษณ์องค์กร คุณค่าตราสินค้าและความพึงพอใจในส่วนประสมทางการตลาดธุรกิจบริการที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าบริษัทไปรษณีย์ไทย จำกัด. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ชัยยศ ยงค์เจริญชัย. (2563). ไวรัสโคโรนา: การสื่อสารอย่างโปร่งใสของภาครัฐเป็นวิธีป้องกันการติดเชื้อได้ดีที่สุด. เข้าถึงเมื่อ (15 ธันวาคม 2563). เข้าถึงได้จาก (https://www.bbc.com/thai/thailand-51749988)

ไชยพศ รื่นมล. (2558). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของผู้ใช้บริการธุรกิจคาร์แคร์ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยศิลปากร

เฌอศานต์ ศรีสัจจัง. (2563). ทางเลือก-ทางรอด “สายการบิน” ยุค COVID-19. เข้าถึงเมื่อ (15 ธันวาคม 2563). เข้าถึงได้จาก (https://news.thaipbs.or.th/content/295197)

ณิศรา ระวียัน. (2561). อิทธิพลของภาพลักษณ์และคุณภาพการให้บริการของสายการบินไทยแอร์เอเชียต่อพฤติกรรมการใช้บริการของผู้โดยสาร. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย ฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. ปีที่ 8, ฉบับที่ 3, หน้า 87-98

ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2563). ข้อมูลรายบริษัท/หลักทรัพย์. เข้าถึงเมื่อ (12 มกราคม 2564). เข้าถึงได้จาก (https://www.set.or.th/set/commonslookup.do?language=th&country=TH)

ธนกร ณรงค์วานิช. (2563). อุตสาหกรรมการบินจะผ่านไปอย่างไรกับโควิด 19 (COVID-19). เข้าถึงเมื่อ (7 ธันวาคม 2563). เข้าถึงได้จาก (https://www.spu.ac.th/activities/27300)

ธัญยธรณ์ นพสิทธิพันธ์. (2562). ผลกระทบของความพึงพอใจของลูกค้าและบุพปัจจัยที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าสายการบินต้นทุนตํ่าในประเทศไทย. วารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์. ปีที่ 9, ฉบับที่ 2, หน้า 277-289

นวลรัตน์ วัฒนา. (2561). ความจงรักภักดีของนักท่องเที่ยวในบริบทโซเซียลคอมเมิร์ซ. Veridian E-Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts) ฉบับภาษาไทย มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ และศิลปะ. ปีที่ 11, ฉบับที่ 2, หน้า 632-650

บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2553). ระเบียบวิธีการวิจัย: แนวทางปฏิบัติสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: ยูแอนด์ไอ อินเตอร์ มีเดีย

ปวีณา หัดสูงเนิน และปฏิมา ถนิมกาญจน์. (2562). คุณภาพบริการและความไว้วางใจที่มีอิทธิพลต่อความจงรักภักดีของสมาชิกในการใช้บริการเครดิตยูเนี่ยนในจังหวัดนครราชสีมาและจังหวัดชลบุรี. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติวิทยาลัยนครราชสีมา ครั้งที่ 6 ประจำปี พ.ศ. 2562 “สังคมผู้สูงวัย โอกาสและความท้าทายของอุดมศึกษา”. วันเสาร์ที่ 30 มีนาคม พ.ศ. 2562 ณ วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา, หน้า 134-145

ปิยะพงศ์ เอมสำราญ. (2555). การพัฒนาภาพลักษณ์ความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์การอย่างยั่งยืน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. ปีที่ 10, ฉบับที่ 1, หน้า 15-28

พรทิพย์ พิมลสินธุ์. (2550). ภาพพจน์นั้นสำคัญยิ่ง: การประชาสัมพันธ์กับภาพพจน์. (พิมพ์ครั้งที่ 4) กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วนจำกัดยงพลเทรดดิ้ง

พรพิรัตน์ คันธธาศิริ. (2559). การเชื่อมโยงพลังการบอกต่อผ่านเครือข่ายออนไลน์ที่มีต่อความตั้งใจซื้อสินค้า. วารสารวิชาการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม. ปีที่ 1, ฉบับที่ 2, หน้า 81-91

พิทวัสค์ โยธินบุนนาค และดารณี พิมพ์ช่างทอง. (2559). ภาพลักษณ์ร้านค้าที่มีอิทธิพลต่อการรับรู้ของลูกค้า: กรณีศึกษา ร้านแม็คยีนส์ เขตกรุงเทพมหานคร. วารสารวไลยอลงกรณ์ปริทัศน์ (มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์). ปีที่ 6, ฉบับที่ 1, หน้า 63-76

ไพศาล ฤทธิกุล. (2559). อัตลักษณ์และการรับรู้ภาพลักษณ์องค์กรที่ส่งผลต่อความจงรักภักดีของกลุ่มลูกค้าธนาคารต่างชาติ กรณีศึกษา ธนาคารไอซีบีซี (ไทย) จำกัด (มหาชน). วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์

มหาวิทยาลัยศรีปทุม. (2563). อุตสาหกรรมการบินจะผ่านไปอย่างไรกับโควิด 19 (COVID-19). เข้าถึงเมื่อ (1 ธันวาคม 2563). เข้าถึงได้จาก (https://www.ryt9.com/s/prg/3152860)

สรัสนันท์ บุญมี, ธาดาธิเบศร์ ภูทอง และธิดาทิพย์ ปานโรจน์. (2563). ปัจจัยต้นเหตุและผลกระทบของความไว้วางใจต่อแพลตฟอร์มโซเชี่ยลคอมเมิร์ซต่อความตั้งใจในการซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภค: การวิเคราะห์ด้วยPLS-SEM. วารสารนิเทศศาสตร์. ปีที่ 38, ฉบับที่ 3, หน้า 81-102

สัมฤทธิ์ จำนงค์. (2557). ภาพลักษณ์องค์กรและนวัตกรรมที่ส่งผลต่อความภักดีของผู้ใช้บริการไปรษณีย์ด่วนพิเศษในประเทศในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อนัญญา อุทัยปรีดา. (2558). ความเชื่อมั่นในตราสินค้าและภาพลักษณ์ประเทศแหล่งกำเนิดสินค้าที่ส่งผลต่อการตัดสินใจซื้อ กรณีศึกษา: ตราสินค้า COACH EST.1941 NEW YORK. การค้นคว้าอิสระหลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

อรญา มาณวพัฒน์. (2560). ประสบการณ์ความไว้วางใจและความภักดีต่อตราสินค้าของผู้ใช้บริการในธุรกิจสายการบินของไทย. วารสารนิเทศศาสตร์และนวัตกรรม นิด้า. ปีที่ 4, ฉบับที่ 1, หน้า 77-85

อัมรา อร่ามเรือง. (2555). สายการบิน Low Cost of Thailand. เข้าถึงเมื่อ (9 กรกฎาคม 2562). เข้าถึงได้จาก (http://blogger-airlowcost.blogspot.com/2012/06/air-asia-everyone-can-fly.html)

อารีวัลย์ เดชาดิลก. (2557). ภาพลักษณ์องค์กรและความไว้วางใจของลูกค้าที่มีผลต่อความจงรักภักดีของลูกค้าธนาคารออมสิน สาขาบางกรวย. วิทยานิพนธ์หลักสูตรปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาบริหารธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

Chaudhuri, A. and Holbrook, M. (2001). The Chain of Effects from Brand Trust and Brand Affect to Brand Performance: The Role of Brand Loyalty. Journal of Marketing. Vol. 65, Issue 2, pp. 81-93. DOI: 10.1509/jmkg.65.2.81.18255

Cochran, W. G. (1977). Sampling Techniques. 3rd ed New York: Wiley

Drennan, J., Bianchi, C., Proud, B., CachoElizondo, S., Correia Loureiro, S., and Guibert, N. (2015). Examining the Role of Wine Brand on Brand Loyalty: A Multi-Country Comparison. International Journal of Hospitality Management. Vol. 49, pp. 47-55. DOI:10.1016/j.ijhm.2015.04.012

Ganiyu, R. A., Uche, I. I., and Elizabeth, A. O. (2012). Is Customer Satisfaction an Indicator of Customer Loyalty?. Australian Journal of Business and Management Research. Vol. 2, No. 7, pp. 14-20

Hosseini, R. S., Zainal, A., and Sumarjan, N. (2015). The Effects of Service Performance of Hotel Customers on Quality of Experience and Brand Loyalty in Iran. Procedia - Social and Behavioral Sciences. Vol. 201, pp. 156-164. DOI: 10.1016/j.sbspro.2015.08.163

Kotler, P. (2000). Marketing Management. (10th ed.) New Jersey: Prentice - Hall

Lassoued, R. and Hobbs, J. E. (2015). Consumer Confidence in Credence Attributes: The Role of Brand Trust. Food Policy. Vol. 52, Issue C,pp. 99-107. DOI: 10.1016/j.foodpol.2014.12.003

Leblance, G. and Nguyen, N. (1996). Cues Used by Customers Evaluating Corporate Image in Service Firms: An Empirical Study in Financial Institutions. International Journal of Service Industry Management. Vol. 7, Issue 2, pp. 44-56

Mayer, R. C., Davis, J. H., and Schoorman, F. D. (1995). An Integrative Model of Organizational Trust. The Academy of Management Review. Vol. 20, No. 3, pp. 709-734. DOI: 10.2307/258792

Moorman, C., Deshpande, R., and Zaltman, G. (1992). Relationships Between Providers and Users of Market Research: The Dynamics of Trust Within and Between Organizations. Journal of Marketing Research. Vol. 29, No. 3, pp. 314-329. DOI: 10.2307/3172742

Oliver, R. L. (1999). Whence Consumer Loyalty. Journal of Marketing. Vol. 63, Issue 4, Suppl 1, pp. 33-44. DOI: 10.1177/00222429990634s105

Parasuraman, A., Berry, L. L., and Zeithaml, V. A. (1991). Refinement and Reassessment of the SERVQUAL Scale. Journal of Retailing. Vol. 67, Number 4, pp. 420-450

Rovinelli, R. J. and Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion-Referenced Test Item Validity. Journal of Educational Research. Vol. 2, pp. 49-60