สภาพปัญหาและรูปแบบการจ้างแรงงานสูงอายุของสถานประกอบการเอกชนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพปัญหา และรูปแบบการจ้างแรงงานสูงอายุของสถานประกอบการเอกชนในประเทศไทยด้วยการศึกษาเชิงเอกสาร โดยทำการรวบรวมข้อมูลจากเอกสารทางวิชาการ สื่อสิ่งพิมพ์ ตำรา หนังสือ กฎหมาย งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลสถานการณ์ผู้สูงอายุ และนโยบายด้านแรงงานของกระทรวงแรงงาน
ผลการวิจัยพบว่า 1) สภาพปัญหาในการจ้างแรงงานสูงอายุ คือ 1.1) ด้านกฎหมาย กรณีแรงงานสูงอายุทำงานภาคเอกชนอาจถูกเลิกจ้างโดยไม่เป็นธรรม 1.2) ด้านการจัดสวัสดิการที่แรงงานสูงอายุได้รับไม่แตกต่างจากแรงงานอื่น 1.3) ด้านลักษณะงานที่แรงงานสูงอายุถูกให้ทำงานเกินเวลาที่กำหนด 1.4) ด้านการเลือกปฏิบัติจากนายจ้างที่ปฏิเสธการรับเข้าทำงาน และ 1.5) ด้านเศรษฐกิจที่ส่งผลกระทบต่อการว่างงาน และการลดชั่วโมงการทำงานของแรงงานสูงอายุ 2) รูปแบบการจ้างแรงงานสูงอายุ มี 4 รูปแบบ ได้แก่ การจ้างงานกลับเข้ามาใหม่ การขยายอายุการเกษียณ การใช้รูปแบบการจ้างงานในรูปแบบที่ยืดหยุ่น และการจ้างแรงงานสูงอายุโดยไม่คำนึงถึงว่าแรงงานนั้นจะเคยทำงานที่สถานประกอบการนั้นมาก่อน
Article Details
ลิขสิทธิ์
References
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2559). ยุทธศาสตร์กระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 และยุทธศาสตร์สำนักงานปลัดกระทรวง พ.ศ. 2560 – 2564 กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพฯ: กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์.
กิติมา ติรเศรษฐเสมา. (2562). มาตรการในการคุ้มครองแรงงานผู้สูงอายุ. วารสารการบริหารปกครอง, 8 (1), 265-287.
เกษรา โพธิ์เย็น. (2562). สังคมผู้สูงอายุ: โอกาสของธุรกิจที่ยั่งยืนในอนาคต. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 21 (1), 201-209.
แก้วขวัญ ตั้งติพงศ์กูล และศุภชัย ศรีสุชาติ. (2559). โครงการวิจัยถอดบทเรียนสถานประกอบที่มีการจ้างแรงงานสูงวัย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
แก้วขวัญ ตั้งติพงศ์กูล. (31 กรกฎาคม 2562). การขยายโอกาสการจ้างงานผู้สูงอายุภาคเอกชนในประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563, จาก http://www.setthasarn.econ.tu.ac.th/blog/detail/20/
จุฬา จงสถิตย์ถาวร. (2560). กฎหมายการจ้างแรงงานสูงอายุ. วารสารนิติศาสตร์มหาวิทยาลัย อัสสัมชัญ, 8 (1), 51-68.
ชัยพัฒน์ พุฒซ้อน และกันตพัฒน์ พรศิริวัชรสิน. (2561). แนวทางการแก้ไขปัญหาสังคมผู้สูงอายุของประเทศไทย. วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 1 (1), 25-36.
ตรงกมล สนามเขต. (2562). มุมมองคุณค่าผู้สูงอายุที่นำเสนอผ่านวาทกรรมสังคมผู้สูงวัย. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์, 6 (2), 1-18.
นงนุช สุนทรชวกานต์. (2556). แนวทางการปรับปรุงกฎหมายเพื่อขยายโอกาสการทำงานของผู้สูงอายุ. วารสารนักบริหาร, 33 (3), 39-46.
นงนุช สุนทรชวกานต์ และพิสุทธิ์ กุลธนวิทย์. (2559). ความแตกต่างทางอาชีพต่อผลิตภาพของแรงงานสูงอายุไทย. BU Academic Review, 15 (1), 42-61.
นิภาพรรณ เจนสันติกุล และรัตนากร นามวงษ์. (2561). การคุ้มครองลูกจ้างตามพระราชบัญญัติคุ้มครองแรงงาน พ.ศ. 2560: ปัญหาและข้อพิจารณาสำหรับการนำไปใช้. รัฐสภาสาร, 66 (4), 70-84.
พภัสสรณ์ วรภัทร์ถิระกุล. (ม.ป.ป). ปัญหาแรงงาน: เมื่อประเทศไทยเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุอย่างสมบูรณ์. ม.ป.ท.
พิสุทธิ์ กุลธนวิทย์ และนงนุช สุนทรชวกานต์. (2562). การตัดสินใจทำงานและจ้างงานต่อหลังเกษียณอายุ: บทสำรวจภาคสนาม. วารสารนักบริหาร, 18 (1), 148-164.
ไพลิน จินดามณีพร. (2560-2561). แนวทางในการจ้างแรงงานสูงอายุในสถานประกอบการ. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร.
มาดี ลิ่มสกุล. (2558). กฎหมายกลางว่าด้วยการจัดสวัสดิการสังคมของประเทศไทย. วารสารสังคมสงเคราะห์ศาสตร์, 23 (1), 28-54.
มานิตย์ ศรายุทธิกรณ์. (2551). มาตรการทางกฎหมายในการส่งเสริมการจ้างแรงงานสูงอายุในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รัชพล อ่ำสุข และปัทพร สุคนธมาน. (2559). แรงงานผู้สูงอายุ: สถานการณ์ และนโยบายของประเทศไทย. วารสารการเมืองการปกครอง, 6 (1), 345-364.
วนิตา บุญโฉม และณัฐพศุตม์ ภัทธิราสินสิริ. (2561). การตัดสินใจจ้างแรงงานต่างด้าวถูกกฎหมายของผู้ประกอบการในจังหวัดขอนแก่น. วารสารสมาคมนักวิจัย, 23 (3), 87-97.
ศิริพงศ์ อัครชัยภูมิสกุล. (2556). มาตรการกฎหมายในการคุ้มครองสิทธิผู้สูงอายุ: กรณีศึกษาการจ้างงานของผู้สูงอายุ. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 10 (1), 33-39.
ศุภชัย ศรีสุชาติ และแก้วขวัญ ตั้งติพงศ์กูล. (2559). โครงการวิจัยถอดบทเรียนสถานประกอบการที่มีการจ้างแรงงานสูงวัย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย.
โสภณ แท่งเพ็ชร์. (13 เมษายน 2552). แรงงานสูงอายุมีผลกระทบต่อผลิตภาพการผลิตและการพัฒนาของประเทศไทย. สืบค้นเมื่อ 22 กุมภาพันธ์ 2563, จาก https://www.ilo.org/asia/media-centre/news/WCMS_104834/lang--en/index.htm
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2563). จำนวนและสัดส่วนประชากรจากการทะเบียน จำแนกตามกลุ่มอายุ (วัยเด็ก วัยแรงงาน วัยสูงอายุ) เพศ ภาค และจังหวัด พ.ศ. 2553 - 2562. สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2563, จาก http://statbbi.nso.go.th/staticreport/ Page/sector/TH/report/sector_01_11103_TH_.xlsx
อนรรฆ พิทักษ์ธานิน และคณะ. (2556). การเลือกปฏิบัติต่อคนพิการ เด็ก ผู้หญิง และผู้สูงอายุ. นนทบุรี: สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข (สวรส.).
Beach, C.M. (2008). Canada’s Aging Workforce: Participation, Productivity, and Living Standards. Bank of Canada: A Festschrift in Honour of David Dodge, 197-218.
Behrendt, C. & Nguyen, Q.A. (2018). Innovative Approaches for Ensuring Universal Social Protection for the Future of Work. Geneva: International Labour Organization.
Huang, W.H. et al. (2019). Impact of Population and Workforce Aging on Economic Growth: Case Study of Taiwan. Sustainability, 11, 1-13.
International Labour Organization. (2020). Covid-19 and the World of Work: Impact and Policy Responses. Geneva: International Labour Organization.
Miles, M. & Huberman, A. (1984). Qualitative Data Analysis: A Sourcebook for New Methods. Beverly Hills, CA: Sage Publications.
Rothenberg, J.Z. & Gardner, D.S. (2011). Protecting Older Workers: The Failure of the Age Discrimination in Employment Act of 1967. The Journal of Sociology & Social Welfare, 38 (1), 9-30.
Serban, A.C. (2012). Aging Population and Effects on Labour Market. Procedia Economics and Finance, 1, 356 – 364.
Zhang, C & Zhao, Y. (2012). The Relationship between Elderly Employment and Youth Employment: Evidence from China. Beijing: China Center for Economic Research, Peking University; Cambridge, MA: Department of Economics, Harvard University.