แนวคิดหลังการพัฒนา: เส้นทางการพัฒนาในยุคหลังการพัฒนา

Main Article Content

บงกชมาศ เอกเอี่ยม

บทคัดย่อ

การพัฒนาเป็นมโนทัศน์ที่ผูกพันกับค่านิยม จึงทำให้เกิดแนวคิดที่แตกต่างหลากหลายในการอธิบายแนวทางการพัฒนา สำหรับ              บทความวิชาการมุ่งเสนอแนวคิดหลังการพัฒนาซึ่งต่อต้านการพัฒนาและแนวทางการพัฒนาของทฤษฎีภาวะทันสมัยที่มุ่งไปสู่ความทันสมัยตามแบบประเทศตะวันตก โดยเสนอว่าการพัฒนาตามแบบตะวันตกเป็นเพียงวาทกรรมที่ถูกสร้างขึ้นโดย ผู้ที่มีอำนาจและผู้เชี่ยวชาญภายใต้มหาอำนาจทางตะวันตก  ผลของการกำหนดนิยามและ    แนวทางการพัฒนาดังกล่าว ทำให้โลกแบ่งออกเป็นคู่ตรงข้ามสองส่วน คือ ฝ่ายเหนือและฝ่ายใต้ พัฒนากับด้อยพัฒนา เมืองกับชนบท โดยฝ่ายที่พัฒนาน้อยกว่าต้องมีการพัฒนาไปสู่ความทันสมัยและเป็นการพัฒนาไปสู่ความเป็นสากลตามอย่างประเทศที่พัฒนาแล้ว  ผลของการพัฒนาในลักษณะดังกล่าวทำให้ละเลยบริบทสังคม วัฒนธรรม ค่านิยม ประเพณีดั้งเดิม และสภาพแวดล้อมทางนิเวศน์ถูกทำลาย ส่งผลต่อการพัฒนาที่ไม่ยั่งยืนในประเทศโลกที่สาม แนวคิดหลังการพัฒนาจึงเสนอแนวทางการพัฒนาแบบใหม่ที่เรียกว่า “ทางเลือกของการพัฒนา” โดยให้ความสำคัญกับบริบทสังคม วัฒนธรรม และภูมิปัญญาท้องถิ่น ร่วมกับการเคลื่อนไหวทางสังคมของคนในระดับรากหญ้า

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนกวรรณ มะโนรมย์. (2555). หลังการพัฒนาสู่การเคลื่อนไหวทางสังคมผ่านพื้นที่ความรู้การจัดการทรัพยากรในภูมิภาคแม่โขง. วารสารสังคมลุ่มน้ำโขง, 8 (3), 69-102.

มานิตตา ชาญไชย. (2563). แนวทางการพัฒนาประเทศไทยสู่ความสมดุลและยั่งยืน. ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.

ประเวศ วะสี. (2548). การจัดการความรู้: กระบวนการปลดปล่อยมนุษย์สู่ศักยภาพ เสรีภาพ. และความสุข. กรุงเทพฯ: สถาบันส่งเสริมการจัดการความรู้เพื่อสังคม.

ปรีชา เปี่ยมพงศ์สานต์. (2540). สิ่งแวดล้อมและการพัฒนา. โครงการตำราลำดับที่ 28. ศูนย์บริการเอกสารวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สรรเสริญ วงศ์ชะอุ่ม. (2554). การวางแผนพัฒนาประเทศ. กรุงเทพฯ : ศูนย์การพิมพ์เพชรรุ่ง.

สามชาย ศรีสันต์. (2558). การศึกษาการพัฒนาในฐานะที่เป็นวาทกรรม. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562 จาก http://www. Academia.edu/8914584/การศึกษาการพัฒนาในฐานะที่เป็นวาทกรรม

สำนักงานพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. 2562. ยุทธศาสตร์ชาติ. สืบค้นเมื่อ 15 ธันวาคม 2562, จาก http://nscr.nesdb.go.th

Corbridge, Stuart. (1998). Beneath the Pavement only Soil: The Poverty of Post Development [Review Article]. Journal of Development Studies, 34 (6), 138-148.

Escoba, A. (1991). The Invention of Development. Current History, 98 (631), 382-386.

Escobar, A. (2000). Beyond the Search for a Paradigm? Post-Development and Beyond. Development, 43, 11-14.

Escobar, Arturo. (2011). Encountering Development: The Making and Unmaking of the Third World. Princeton: Princeton University Press.

Faille, Dimitri D. (2011). Discourse Analysis in International Development Studies: Mapping some Contemporary Contributions. Journal of Multicultural Discourse, 6 (3), 215-235.

Johnson, Christopher K. (2014). Post-Development and the Practitioner. Retrieved July 8, 2015, from http: www.e-ir.info/2014/01/08/post-development-and-the-practioner/

Lehmann, D. (1997. An Opportunity Lost: Escobar’s Deconstruction of Development. Journal of Development Studies, 33 (4), 568-578.

Lubieniecka, Ewelina Roza. (2013). Does Post-Development Theory Find Alternatives to Westernization of International Relations? African Perspective. Paper Presented at The 8th Pan-European Conference on International Relations: One International Relations or Many? Multiple Worlds, Multiple Crises.

Pieterse, Nederveen Jan. (1996). The Development of Development Theory: Towards Critical Globalism. Review of International Political Economy, 3 (4), 541-564.

Pieterse, Nederveen Jan. (1998). My Paradigm or Yours? Alternative Development, Post Development, Reflexive Development. Development and Change, 29, 343-373.

Pieterse, Nederveen Jan. (2000). After Post-Development. Third World Quarterly, 2, 175-191.

Pieterse, Nederveen Jan. (2009). Development Theory (Publish in Association with Theory, Culture and Society). 2nd Edition. Sage Publication.

Potter, R., T. Binns, J. Elliott, E. David and W. Smith. (2018). Geographies of Development: An Introduction to Development Studies. 4th Edition. London: Routledge.

Rahnema, Majid (ed.). (1997). The Post-Development Reader. London, Zed.

Sachs, W. 2012. The Development Dictionary: a Guild to Knowledge as Power. London: Zed.

Siemiatycki, Eliot. (2005). Post-Devlopment at a Crossroads: Towards a ‘Real’ Development. Undercurrent, 2 (3), 57-61.

Sumner, A., & Tribe, M. (2008). International development Studies: Theories and Methods in Research and Practice. SAGE Publications Ltd.

Sylverster, Christine. (1999). Development Studies and Postcolonial Studies: Disparate Tales of the ‘Third World1’. Third World Quarterly, 20 (4), 703-721.

Ziai, Aram (ed.) (2007). Exploring Post-Development: Theory and Practice, Problems and Perspectives. London: Routledge.