การแข่งขันทางการเมืองและเครือข่ายทางการเมือง: บทวิเคราะห์กรณีการเลือกตั้ง นายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2563

Main Article Content

ณัฐพงษ์ คันธรส

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การแข่งขันทางการเมืองท้องถิ่นในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง ในช่วงกว่า 1 ทศววรรษ ที่ผ่านมา โดยอาศัยมุมมองทางการวิเคราะห์การแข่งขันทางการเมือง และเครือข่ายทางการเมืองเชิงโครงสร้างของการเมืองระดับชาติที่มีอิทธิพลต่อการแข่งขันทางการเมืองในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2563 ผลการศึกษาพบแง่มุมที่สำคัญประการหนึ่งว่า กลุ่มการเมืองท้องถิ่น หรือกลุ่มการเมืองที่มีพรรคการเมืองระดับชาติให้การสนับสนุน มีความสามารถในการแข่งขันทางการเมือง รวมทั้งการวางเครือข่ายทางการเมืองในการช่วงชิงตำแหน่ง และการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง ซึ่งกล่าวได้ว่าในการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง พ.ศ. 2563 กลุ่มการเมืองที่มีพรรคการเมืองระดับชาติและมีเครือข่ายทางการเมืองในจังหวัดลำปางมีบทบาทสำคัญและมีผลต่อชัยชนะในการเลือกตั้ง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

คมชัดลึก. (2562). ลำปางหนาวยะเยือก! "ดาชัย ศ.ธรรมนัส" VS "ป๋าโรจน์". คมชัดลึก สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/scoop/361490.

คำสั่งคณะรักษาความสงบแห่งชาติ ที่ 19/2558 เรื่อง แต่งตั้งและให้เจ้าหน้าที่ของรัฐดำรงตำแหน่งและปฏิบัติหน้าที่อื่น. (2558, 25 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 112 ตอนพิเศษ 145 ง, หน้า 8-9.

ฉัตรชัย เล็กบุญแถม, และ อติพร เกิดเรื่อง. (2562). วิธีการแข่งขันของกลุ่มผลประโยชน์ทางการเมืองในระดับเทศบาลตำบล อำเภอนิคมพัฒนา จังหวัดระยอง. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชียฉบับมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 9(3), 167-180.

เชียงใหม่นิวส์. (2563, 21 ธันวาคม). ตวงรัตน์ มาตามคาด คะแนน นายก อบจ.ลำปาง ครบ 100% อย่างไม่เป็นทางการ ผู้สมัครจากพรรคเพื่อไทย คะแนนมาเป็นอันดับ 1. สืบค้นจาก https://www.chiangmainews.co.th/page/archives/53 2755/

ณัชชานุช พิชิตธนารัตน์. (2559). แนวคิดวิเคราะห์โครงสร้างอำนาจท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมืองบูรพา, 3(2), 1-28.

ณัฐกร วิทิตานนท์. (2564). การแข่งขันทางการเมืองขององค์การบริหารส่วนจังหวัดใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบนในรอบทศวรรษ (พ.ศ. 2554-2563). วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 12(2), 75-116.

ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2563). When We Vote: พลวัตรการเลือกตั้งและประชาธิปไตยในอาเซียน. กรุงเทพฯ: มติชน.

ปรีชา คุวินทร์พันธ์. (2555). แนวคิดทางมานุษยวิทยาเกี่ยวกับลักษณะบางประการของสังคมวัฒนธรรมไทย: มุมมองจากนักมานุษยวิทยาคนหนึ่ง. วารสารสังคมศาสตร์, 42(2), 34-46.

พิชาย รัตนดิลก ณ ภูเก็ต. (2552). องค์การและการบริหารจัดการ. กรุงเทพฯ: ธิงค์ บียอนด์ บุ๊คส์.

พินสุดา วงศ์อนันต์. (2563). พรรคการเมืองกับการเมืองท้องถิ่น: ข้อค้นพบเบื้องต้นเฉพาะกรณีกรุงเทพมหานคร และองค์การบริหารส่วนจังหวัด. วารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์, 11(2), 121-158.

ศุทธิกานต์ มีจั่น. (2561). ปริทัศน: Team Work: Shifting Patterns and Relationships in Local and National Politics in Thailand. วารสารสถาบันพระปกเกลา, 16(2), 125-135.

สำนักงานคณะกรรมการการเลือกตั้งประจำจังหวัดลำปาง. (2562). ผลการเลือกตั้ง ส.ส. 24 มี.ค. 2562. สืบค้นจาก https://www.ect.go.th/lampang/ewt_dl_link. php?nid=476

หทัยกาญจน์ ตรีสุวรรณ (2563, 6 ธันวาคม). เลือกตั้งท้องถิ่น: ปรากฏการณ์ใหม่-ข้อมูล-สถิติน่าสนใจในศึกเลือกตั้ง อบจ.63. บีบีซีไทย. สืบค้นจาก https://www.bbc.com/ thai/thailand-55186329

องค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง. (2563). สรุปสถิติการเลือกตั้งนายกองค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง. สืบค้นจาก http://www.lp-pao.go.th/Main60/index.php/ 2016-11-09-03-56-07/2122-231225631253.html

อโณทัย วัฒนาพร. (2553). การแข่งขันทางการเมืองขององค์การบริหารส่วนจังหวัดใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนบน. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 8(3), 17-40.

อโณทัย วัฒนาพร. (2558). นักการเมืองถิ่นจังหวัดลำปาง. กรุงเทพฯ: บริษัท ซัน แพคเกจจิ้ง จำกัด.

อโณทัย วัฒนาพร, และ พินสุดา วงศ์อนันต์. (2561). การวางเครือข่ายทางการเมืององค์การบริหารส่วนจังหวัดลำปาง: การสำรวจเบื้องต้น. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, 16(1), 73-95.

Hank, L. M. (1962). Merit and Power in the Thai Social Order. American Anthropologist, 64(6), 1247–1261.

Roemer, J. E. (2006) Political Competition: Theory and Application. United State of America: Harvard University Press.

Scott, J. & Carrington, P. J. (2011). Political Dimensions of Corporate Connections. London: SAGE Publications Ltd.