ญี่ปุ่นกับการพัฒนาประเทศ: มองผ่านมิติทางประวัติศาสตร์ระยะยาว

Main Article Content

นนท์ น้าประทานสุข
วินิจ ผาเจริญ

บทคัดย่อ

บทความวิชาการชิ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาหาปัจจัยการพัฒนาประเทศของญี่ปุ่นโดยใช้แนวคิดทางประวัติศาสตร์ระยะยาวมาเป็นกรอบในการศึกษา  ซึ่งเป็นการศึกษาเชิงเอกสาร หนังสือ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง จากนั้นนำผลการศึกษามาวิเคราะห์ด้วยวิธีการพรรณนาวิเคราะห์ ผลการศึกษาพบว่าการพัฒนาประเทศญี่ปุ่นมาจากปัจจัยภายนอกที่ประกอบไปด้วย 1) การเปลี่ยนแปลงทางด้านองค์ความรู้จากทางตะวันตกที่ผ่านเข้ามาจากพ่อค้าชาวเนเธอร์แลนด์ ชาวจีนและทูตจากเกาหลีในสมัยโชกุนโตกุกาวะ 2) การบีบบังคับให้ญี่ปุ่นเปิดประเทศจากสหรัฐอเมริกาในปีค.ศ. 1853 และปัจจัยภายในที่ญี่ปุ่นต้องการยกระดับประเทศให้ทัดเทียมประเทศตะวันตก ซึ่งเป็นปัจจัยที่ส่งผลต่อการพัฒนาประเทศญี่ปุ่นอย่าก้าวกระโดด โดยนำมาสู่การเปลี่ยนแปลงระบบการปกครอง การศึกษา กฎหมาย รวมไปถึงระบบสังคมและอุตสาหกรรมสมัยใหม่

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

เขียน ธีระวิทย์. (2508). วิวัฒนาการการปกครองญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สมาคมสังคมศาสตร์แห่งประเทศไทย.

บิสลีย์ ดับเบิลยู จี. (2543). ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นสมัยใหม่ (ทองสุก เกตุโรจน์, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: ศูนย์พัฒนาหนังสือกรมวิชาการ.

วีระชัย โชคมุกดา. (2554). ประวัติศาสตร์ญี่ปุ่นฉบับสร้างชาติ. กรุงเทพฯ: ยิปซี.

ศิริพร ดาบเพชร. (2560). ปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงของญี่ปุ่นตั้งแต่หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ถึงปัจจุบัน. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ SMARTS ครั้งที่ 7 (น. 257-258). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สมาคมนานาชาติเพื่อข่าวสารการศึกษา. (2541). ญี่ปุ่นปัจจุบัน. กรุงเทพฯ: สถานเอกอัคราชทูตญี่ปุ่น.

สุริชัย หวันแก้ว. (2525). สังคมญี่ปุ่น. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เอจิ โอะกุมะ. (2544). โครงสร้างและอนาคตของสังคมญี่ปุ่นที่เผยตัวออกมาจากภัยพิบัติแผ่นดินไหว. Japan Watch Project, 4(3), 9-11.

Andrew, G. (2002). A Modern History of Japan: from Tokugawa Timesto the Present. Oxford: : Oxford University Press.

Curtis, A., & Milton, O. (2003) A Short History of Japan: From Samurai to Sony. Allen & Unwin

James, L.H. (2010). Japan in World History (The New Oxford World History). Oxford University Press, USA

Richard, H.P.M. & John, C. (2014). A History of Japan: Revised Edition: Tuttle Publishing.

Transparency International Corruptin Perception Index. (2016). International Transparency . Retrieved from Corruption perception index 2016:https://www.transparency.org/news/feature/corruption_perceptions_index_2016

Wimolraya, N. (2016). wimolraya naka. Retrieved from เศรษฐกิจของญี่ปุ่น: https://sites.google.com/site/wimolrayanaka34/serth-kic-khxng-yipun

Zachary, L., & James, M. (2017). The Group of Seven (G7). Retrieved from Council on Foreign Relations: https://www.cfr.org/backgrounder/group-seven-g7