การศึกษาจิตรกรรมไทยเพื่อบูรณาการและส่งเสริม ภาพลักษณ์การแพทย์แผนไทย
คำสำคัญ:
จิตรกรรมการแพทย์แผนไทย, การแพทย์แผนไทยศิลป์, ภาพลักษณ์ การแพทย์แผนไทยบทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องการศึกษาจิตรกรรมไทยเพื่อบูรณาการและส่งเสริมภาพลักษณ์
การแพทย์แผนไทย มีวัตถุประสงค์เพื่อ1.ศึกษาประวัติความเป็นมาและความส�ำคัญ
ของการแพทย์แผนไทย ตลอดจนหัตถการรักษาโดยหมอไทย 2.สร้างสรรค์
จิตรกรรมไทยบนฝาผนังภายในอาคารเพื่อแสดงเรื่องราวประวัติศาสตร์ความเป็นมา
ของการแพทย์แผนไทย 3.สร้างสรรค์จิตรกรรมไทยบนเสาราย เพื่อแสดงคุณค่า
ความส�ำคัญของหัตถการรักษาของหมอไทยโดยศึกษาและสร้างสรรค์ณกรมพัฒนา
การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก มีวิธีด�ำเนินการวิจัยสร้างสรรค์ศิลปกรรม
ดังนี้1. สัมภาษณ์หมอไทยร่วมกับผู้บริหารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก2.ศึกษาเอกสารข้อมูลทุติยภูมิทางการแพทย์แผนไทย3.ออกแบบภาพร่าง
จิตรกรรมไทยเพื่อประกอบเนื้อหา4.ประชุมกลุ่มเพื่อตรวจสอบแบบร่าง5.สร้างสรรค์
ชิ้นงานจิตรกรรมไทยบนผนังอาคาร และเสารายโดยรอบอาคารกรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ผลการวิจัยได้1.องค์ความรู้ทางประวัติศาสตร์
ความเป็นมาในแต่ละยุคสมัยและการหัตถการรักษาโดยหมอไทย2.ผลงานจิตรกรรม
ฝาผนังขนาดกว้าง 12 เมตร สูง 2.5 เมตร โดยแบ่งเรื่องราวตามยุคสมัยที่สำคัญได้
ดังนี้ยุคสมัยดินแดนสุวรรณภูมิยุคสมัยอู่ทองยุคสมัยสุโขทัยยุคสมัยกรุงศรีอยุธยา
ยุคสมัยรัตนโกสินทร์ในช่วงเวลาของรัชกาลที่3 พระราชบิดาแห่งการแพทย์แผนไทยและในช่วงเวลาปัจจุบันรัชกาลที่ 9 กษัตริย์นักพัฒนา 3. ผลงานจิตรกรรมแสดง
ความสำคัญและการหัตถการรักษาโดยหมอไทยโดยมีภาพและการอธิบายแฝงอยู่ใน
จิตรกรรมฝาผนังและส่วนเสารายรอบอาคารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข
References
แผนไทย การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก 2552-2553.กรุงเทพฯ:
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกกระทรวงสาธารณะสุข.
กองคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยและพื้นบ้านไทย. (2558). พระบิดาแห่ง
การแพทย์แผนไทย. กรุงเทพฯ: กรมการแพทย์แผนไทย และการแพทย์
ทางเลือก กระทรวงสาธารณสุข.
ขวัญชัย วิศิษฐานนท์. (2558, 30 กันยายน). ผู้อ�ำนวยการส�ำนักยุทธศาสตร์
กรมการแพทย์แผนไทย. สัมภาษณ์.
คมสัน ทินกร. (2558, 28 กันยายน). หมอไทย ผู้สืบทอดคลินิกแพทย์แผนไทย
หม่อมราชวงศ์สะอาด ทินกร. สัมภาษณ์.
ธวัชชัย กมลธรรม. (2558, 16 กรกฏาคม). อธิบดีกรมพัฒนาการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก. สัมภาษณ์.
อ�ำนาจ เย็นสบาย. “ตีความพุทธศิลป์ด้วยความสงสัย.” สยามรัฐสัปดาห์วิจารณ์
ปีที่ 31 ฉบับที่ 3 ( กรกฎาคม 2527). หน้า 30-31.
ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของการเป็นมรดกโลก วัดโพธิ์สืบค้นวันที่ 5 มกราคม
2559, จากhttp://www.watpho.com/news_detail.php?id=141
ข้อมูลเกี่ยวกับความเป็นมาของ แม่ซื้อ สืบค้นวันที่ 5 มกราคม 2559, จาก
http://www.oknation.net/blog/supawan/2012/06/12/entry-2
216 The Fine & Applied Arts Journal
ข้อมูลเกี่ยวกับการบริหารท่าฤๅษีดัดตน สืบค้นวันที่ 10 มกราคม 2559, จาก
http://www.watpho.com/contorted_hermit_exercise.php
ชยันต์ พิเชียรสุนทร. สารานุกรมไทยส�ำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 33 เรื่องที่ 8 การแพทย์แผนไทย
(เวชกรรมไทย) สืบค้นวันที่ 10 ธันวาคม 2558, จาก http://kanchana
pisek.or.th/kp6/sub/book/book.php?book=33& chap=8&page=
t33-8-infodetail04.html
อนันต์ปาณินท์. สารานุกรมไทยสำหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาท
สมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เล่มที่ 13 เรื่องที่ 4 จิตรกรรมไทย. สืบค้นวันที่
10ธันวาคม 2558,จากhttp://kanchanapisek.or.th/kp6/sub/book/
book.php?book=12&chap=2&page=t12-2-infodetail18.html