วัฒนธรรมร่วมสมัยสู่การปรับเปลี่ยนรูปแบบ งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ่น

ผู้แต่ง

  • กัมพล แสงเอี้ยม

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมร่วมสมัย, ปรับเปลี่ยนรูปแบบ,ศิลปหัตถกรรม,ผ้าทอท้องถิ่น

บทคัดย่อ

บทความนี้ได้กล่าวถึงความหลากหลายทางวัฒนธรรมในยุคโลกาภิวัตน์
ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วในทุกมิติรวมถึงมิติของเวลาท่ามกลางโลกาภิวัตน์
ในปัจจุบันเป็นวัฒนธรรมที่สร้างสรรค์แบบข้ามแดน การผสมผสานทางด้านการรับรู้
ด้านแนวคิดด้านรูปแบบ และด้านรสนิยม ซึ่งส่งผลต่อการปรับเปลี่ยนรูปแบบของ
งานศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ่น เพื่อให้สอดคล้องกันกับบริบทภายนอกชุมชน และ
บริบทภายในชุมชน จากการผสมผสานทางวัฒนธรรมสู่แนวทางของรูปแบบงาน
ศิลปหัตถกรรมผ้าทอท้องถิ่นสองรูปแบบด้วยกัน แนวทางที่1การปรับเพิ่มเอกลักษณ์
ผ้าทอท้องถิ่น แนวทางที่ 2 การปรับเพิ่มรูปแบบและการใช้งานใหม่ ภายใต้บริบท
ทางวัฒนธรรมร่วมสมัย

References

จรัสพิมพ์วังเย็น. 2554. แนวคิดหลังสมัยใหม่ : การย้อนสู่โลกแห่งภูมิปัญญา
กรุงเทพฯ: วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะ สาขามนุษยศาสตร์และ
สังคมศาสตร์มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ธีรยุทธ บุญมี.2546. พหุนิยม = Pluralism.กรุงเทพฯ:ส�ำนักงานคณะกรรมการ
วิจัยแห่งชาติ.
วิรุณ ตั้งเจริญ.2554. ศิลปกรรมร่วมสมัย : การเรียนรู้และสร้างสรรค์.กรุงเทพฯ:
วารสารสถาบันวัฒนธรรมและศิลปะสาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สุริยาสมุทคุปติ์และพัฒนากิติอาษา.2542.มานุษยวิทยาโลกาภิวัตน์ : รวมบทความ.
เอกสารทางวิชาการห้องไทยศึกษานิทัศน์ส�ำนักวิชาเทคโนโลยีสังคม
มหาวิทยาลัยเทคโนสุรนารี.
แสงอรุณ รัตกสิกรและคณะ.2551.ลักษณะไทย วัฒนธรรมพื้นบ้าน. พิมพ์ครั้งที่2.
กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินท์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จำกัด (มหาชน).
อรัญ วานิชกร. 2555. การศึกษากระบวนการเขียนภาพร่างทัศนียภาพเพื่อการ
ออกแบบผลิตภัณฑ์ชุมชน. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
อมรา พงศาพิชญ์. 2549. ความหลากหลายทางวัฒนธรรม : กระบวนทัศน์และ
บทบาทในประชาสังคม.กรุงเทพฯ:สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์