การศึกษาแนวโน้มความต้องการและความเป็นไปได้ ในการเปิดหลักสูตรปริญญาโทสาขาละคอนประยุกต์ และสาขาศิลปะการแสดงร่วมสมัย

ผู้แต่ง

  • นรีรัตน์ พินิจธนสาร

บทคัดย่อ

การศึกษาแนวโน้มความต้องการและความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตร ปรญิญาโทสาขาละคอนประยกุตแ์ละสาขาศลิปะการแสดงรว่มสมยั มวีตัถปุระสงค์ เพอ่ื 1. เพอ่ืศกึษาสภาพปจัจบุนั แนวโนม้ และความตอ้งการศกึษาตอ่ระดบัปรญิญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต โดยแบ่งออกเป็น 2 สาขา ได้แก่ สาขาละคอน ประยุกต์ และสาขาศิลปะการแสดงร่วมสมัย 2. เพ่ือวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ความเตรียมพร้อมในการจัดการศึกษาระดับปริญญาโทของสาขาวิชาการละคอน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. เพ่ือน�าเสนอแนวทางใน การจัดการศึกษา เช่น แนวคิด หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงสร้าง และ รปูแบบการจดัโครงสรา้งหลกัสตูร ของสาขาวชิาการละคอน คณะศลิปกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ กลมุ่ตวัอยา่งประกอบดว้ย กลมุ่ท1่ี นสิติ นกัศกึษา ทก่ี�าลงั ศกึษาในระดบัปรญิญาตรี ชน้ัปที่ี 4 และบณัฑติผสู้�าเรจ็การศกึษาในระดบัปรญิญา ตรี ปีการศึกษา 2557 ในสาขาวิชาการละครหรือสาขาศิลปะการแสดงต่างๆ จาก สถาบันระดับอุดมศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน ท่ีเปิดหลักสูตรการสอนเก่ียวข้อง การศึกษาแนวโน้มความต้องการและความเป็นไปได้ในการเปิดหลักสูตร ปรญิญาโทสาขาละคอนประยกุตแ์ละสาขาศลิปะการแสดงรว่มสมยั มวีตัถปุระสงค์ เพอ่ื 1. เพอ่ืศกึษาสภาพปจัจบุนั แนวโนม้ และความตอ้งการศกึษาตอ่ระดบัปรญิญาโท หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต โดยแบ่งออกเป็น 2 สาขา ได้แก่ สาขาละคอน ประยุกต์ และสาขาศิลปะการแสดงร่วมสมัย 2. เพ่ือวิเคราะห์ความเป็นไปได้ ความเตรียมพร้อมในการจัดการศึกษาระดับปริญญาโทของสาขาวิชาการละคอน คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 3. เพ่ือน�าเสนอแนวทางใน การจัดการศึกษา เช่น แนวคิด หลักการและเหตุผล วัตถุประสงค์โครงสร้าง และ รปูแบบการจดัโครงสรา้งหลกัสตูร ของสาขาวชิาการละคอน คณะศลิปกรรมศาสตร์ มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ กลมุ่ตวัอยา่งประกอบดว้ย กลมุ่ท1่ี นสิติ นกัศกึษา ทก่ี�าลงั ศกึษาในระดบัปรญิญาตรี ชน้ัปที่ี 4 และบณัฑติผสู้�าเรจ็การศกึษาในระดบัปรญิญา ตรี ปีการศึกษา 2557 ในสาขาวิชาการละครหรือสาขาศิลปะการแสดงต่างๆ จาก สถาบันระดับอุดมศึกษาท้ังภาครัฐและเอกชน ท่ีเปิดหลักสูตรการสอนเก่ียวข้องทางด้านการละครและศิลปะการแสดง จ�านวน 12 แห่ง กลุ่มที่ 2 นักแสดง ศิลปิน หรอืกลมุ่คนท�างานในกลมุ่ละครตา่งๆ ทจ่ีบการศกึษาระดบัปรญิญาตรใีนสาขาวชิา ตา่งๆ จากกลมุ่ละครตา่งๆทย่ีงัเปดิท�าการอยใู่นปจัจบุนั (2558-2559) และกลมุ่ท่ี 3 ข้อมูลจากการสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญทางด้านศิลปะการละครและศิลปะการแสดง เพอื่ศกึษาแนวคดิหลกัการ ขอ้คดิเหน็และขอ้เสนอแนะในการเปดิหลกัสตูรปรญิญาโท สาขาละคอนประยุกต์และศิลปะการแสดงร่วมสมัย ผลการวจิ ยั ปรากฏวา่ จากการสง่ แบบสอบถามไปยงั กลมุ่ ตวั อยา่ งทง้ั 2 กลมุ่ จ�านวน 460 ชุด ได้รับการตอบกลับ จ�านวน 399 ชุดคิดเป็นร้อยละ 86.7 แบ่งเป็น กลุ่มที่ 1 นิสิต นักศึกษา ที่ก�าลังศึกษาในระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 4 และบัณฑิต ผู้ส�าเร็จการศึกษา ปีการศึกษา 2557 จ�านวน 410 ชุด ได้รับการตอบกลับจ�านวน 353 ชุด คิดเป็นร้อยละ 86.1 กลุ่มที่ 2 นักแสดง ศิลปิน หรือกลุ่มคนท�างานใน กลุ่มละครต่างๆ จ�านวน 50 ชุด ได้รับการตอบกลับ จ�านวน 46 ชุด คิดเป็นร้อยละ 92.0 มคีวามสนใจสาขาในหลกัสตูรปรญิญาโท โดยแยกตามความสนใจเฉพาะบคุคล กลุ่มที่ 1 ส่วนใหญ่สนใจหลักสูตรปริญญาโท จ�านวน 308 คน จากจ�านวนผู้ตอบ แบบสอบถาม 353 คน สนใจในสาขาละคอนประยกุต์ จ�านวน 87 คน คดิเปน็รอ้ยละ 28.2 สาขาศิลปะการแสดงร่วมสมัย แขนงศิลปะการละคอน จ�านวน 109 คน คิดเป็นร้อยละ 35.4 และแขนงศิลปะการแสดงและนาฏยศิลป์ จ�านวน 165 คน คดิเปน็รอ้ยละ 53.6 กลมุ่ท่ี 2 นกัแสดง ศลิปนิ หรอืกลมุ่คนท�างานในกลมุ่ละครตา่งๆ สว่นใหญส่นใจหลกัสตูรปรญิญาโท จ�านวน 38 คน จากจ�านวนผตู้อบแบบสอบถาม 46 คน โดยสนใจในสาขาละคอนประยกุต์ จ�านวน 35 คน คดิเปน็รอ้ยละ 76.1 สาขา ศลิปะการแสดงรว่มสมยั แขนงศลิปะการละคอน จ�านวน 7 คน คดิเปน็รอ้ยละ 15.2 และแขนง ศิลปะการแสดงและนาฏยศิลป์ จ�านวน 5 คน คิดเป็นร้อยละ 10.9 เหตุผลท่ีเลือกสาขาท่ีสนใจกลุ่มท่ี 1 ส่วนใหญ่สนใจหลักสูตรปริญญาโทสาขา การละคอนประยุกต์และสาขาศิลปะการแสดงร่วมสมัย ด้วยเหตุผล ตรงกับสาขาที่ จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี มากที่สุด คิดเป็น ร้อยละ 74.4 ของผู้ที่สนใจ ทั้งหมด 229 คน รองลงมาคือ ต้องการพัฒนาความรู้ในด้านที่ตนเองมีความสนใจและสามารถน�าไปประยุกต์ใช้ได้ คิดเป็นร้อยละ 59.7 ของผู้ที่สนใจทั้งหมด และ มคีวามสนใจในดา้นเนอ้ืหารายวชิาของหลกัสตูร คดิเปน็รอ้ยละ 49.4 ของผทู้ส่ีนใจ ทง้ัหมด กลมุ่ท่ี 2 สว่นใหญส่นใจหลกัสตูรปรญิญาโทสาขาการละคอนประยกุตแ์ละ สาขาศลิปะการแสดงรว่มสมยั ดว้ยเหตผุล ตรงกบัสายงานหรอืสายอาชพีทป่ีระกอบ ในปจัจบุนั มากทส่ีดุ คดิเปน็รอ้ยละ 91.3 ของผทู้ส่ีนใจทง้ัหมด 46 คน รองลงมาคอื ตอ้งการตอ่ยอดทางการศกึษา และเพอ่ืวางแผนการศกึษาตอ่ไปในระดบัปรญิญาเอก ทั้งในประเทศและต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 76.1 ของผู้ที่สนใจทั้งหมด และ ตอ้งการพฒันาความรใู้นดา้นทต่ีนเองมคีวามสนใจและสามารถน�าไปประยกุตใ์ชไ้ด้ คิดเป็นร้อยละ 73.9 ของผู้ที่สนใจทั้งหมด การตัดสินใจสมัครเข้าเรียน กลุ่มที่ 1 ส่วนใหญ่สนใจ แผน ข การศึกษาค้นคว้าอิสระ ร้อยละ 81.8 ของผู้สนใจทั้งหมด 308 คน และแผน ก ท�าวิทยานิพนธ์อย่างเดียว ร้อยละ 18.2 ของผู้สนใจทั้งหมด กลุ่มที่ 2 ส่วนใหญ่สนใจ แผน ข การศึกษาค้นคว้าอิสระ ร้อยละ 87 ของผู้สนใจ ทั้งหมด 46 คน และแผน ก ท�าวิทยานิพนธ์อย่างเดียว สรปุ เนอ้ื หาการแสดงความคดิ เหน็ และขอ้ เสนอแนะในเรอ่ื งความเปน็ ไปได้ และทศิทางการเปดิหลกัสตูรปรญิญาโท ทางดา้นละคอนประยกุตแ์ละศลิปะการแสดง ร่วมสมัย 4 เรื่อง ได้แก่ 1. การเข้าใจถึงความหมายของละคอนประยุกต์และศิลปะ การแสดงรว่มสมยัอยา่งแทจ้รงิ เปน็สงิ่ส�าคญั เพอื่ทจี่ะท�าใหส้ามารถจดัรายวชิาตา่งๆ ลงในแตล่ะหลกัสตูรไดม้เีนอ้ืหาวชิาตรงตามวตัถปุระสงค์ เพอ่ืใหผ้เู้รยีนไดร้บัความรู้ และสามารถน�าไปใช้ให้เกิดประโยชน์สูงสุด 2. การบรรจุเนื้อหาวิชาลงในหลักสูตร โดยพิจารณาถึงการน�าเอาไปใช้ได้จริงและมีความทันสมัยเข้ากับโลกปัจจุบัน 3.การเตรียมความพร้อมของหลักสูตรที่ต้องการจะเปิด เรื่องส�าคัญที่สุด คือ ด้าน บคุลากรผสู้อน ทตี่อ้งการผทู้มี่คีวามรู้ ประสบการณ์ และมคีวามเชยี่วชาญเฉพาะทาง ในแต่ละด้าน โดยควรเปิดกว้างไม่จ�ากัดเฉพาะบุคลากรที่มีในสถาบันเท่านั้น และ 4.การสรา้งเอกลกัษณ์ และวตัถปุระสงคท์ชี่ดัเจนใหแ้กห่ลกัสตูร โดยเขา้กบัโครงสรา้ง นโยบายของมหาวทิยาลยั และสามารถผลติผลงานสรา้งสรรคอ์อกสสู่งัคมไดป้ระจกัษ์

References

เกษม สาหร่ายทิพย์. ระเบียบวิธีวิจัย. พิมพ์ครั้งที่ 2. โรงพิมพ์นิวเสรีนคร, 2542. กาญจนา คุณารักษ์. หลักสูตรและการพัฒนา. นครปฐม : มหาวิทยาลัยศิลปากร, 2540. ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. การพัฒนาหลักสูตร : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: อลีน เพรส, 2539. ชัยวัฒน์ สุทธิรัตน์. การพัฒนาหลักสูตร : ทฤษฏีสู่การปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556. ธาวุฒิ ปลื้มส�าราญ. ความต้องการการศึกษาต่อหลักสูตรการศึกษาดุษฎีบัณฑิต คณะพลศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2553. ธ�ารง บัวศรี. ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบและการพัฒนา. กรุงเทพฯ : เอราวัณการพิมพ์, 2531. นิตยา สุขเสรีทรัพย์. รายงานการวิจัย เรื่อง การประเมินและติดตามผล หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต วิชาเอกภาษาอังกฤษ มหาวิทยาลัย ศรนีครนิทรวโิรฒ. กรงุเทพฯ : ภาควชิาภาษาตะวนัตก คณะมนษุยศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ, 2547. ปทีป เมธาคุณวุฒิ. หลักสูตรอุดมศึกษา : การประเมินและพัฒนา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2532. พรรัตน์ ด�ารุง. ละครประยุกต์ : การใช้ละครเพื่อการศึกษา. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557. สถาบนัวจิยัและพฒันามหาวทิยาลยัศลิปากร. ขอ้เสนอหลกัเกณฑก์ารขอต�าแหนง่ ทางวิชาการสาขาศิลปะและการออกแบบ. นครปฐม : มหาวิทยาลัย ศิลปากร, 2556. รังสรรค์ สิงหเลิศ. การศึกษาความเป็นไปได้ในการเปิดสอนหลักสูตรปริญญา ศกึษาศาสตรดษุฎบีณัฑติ สาขาประชากรศกึษาของมหาวทิยาลยัมหดิล : วิเคราะห์ความต้องการ. มหาวิทยาลัยมหิดล, 2529.
ศิลปกรรมสาร 103
แผนกลยทุธม์หาวทิยาลยัธรรมศาสตร์ ฉบบัท่ี 11 (พ.ศ.2555 – 2559) ฉบบัทบทวน ประจ�าปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 – 2557. สืบค้นเมื่อ 27 มกราคม 2558; จาก http://www2.citu.tu.ac.th/citu/www/files/แผนกลยุทธ์.pdf แผนยทุธศาสตรก์ารสง่เสรมิศลิปวฒันธรรมรว่มสมยั ปี 2555 – 2558 (ฉบบัสมบรูณ)์. สบื คน้ เมอื่ 27 มกราคม 2558; จาก http://www.ocac.go.th/document/ page/page_3483.pdf หลกัสตูรศลิปกรรมศาสตรบณัฑติ สาขาวชิาการละคอน คณะศลิปกรรมศาสตร ์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ /หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2556 Crifton, D.S. Jr. and D.E. Eyffe. Project Feasibility Study Analysis . New York, 1977. Ingwar Werdelin. The Feasibility of an Education plan.In Manual of Education planning 9 : Evaluation . Linkoping University, 1977. L.J. Goodman and N.R. Love (eds). Project planning and management: An Integrated Approach . New York : pergamon, 1980. Taba, Hillda. (1962). Curriculum Development : Theory and Practice . New York : Harcourt, Brace and World.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์