การสร้างสรรค์ชีวิตให้กับการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์

ผู้แต่ง

  • กัมพล แสงเอี้ยม

คำสำคัญ:

ออกแบบผลิตภัณฑ์, ผลิตภัณฑ์มีชีวิต, สิ่งบ่งชี้วิธีใช้สอย

บทคัดย่อ

บทความนไ้ีดก้ ลา่ วถงึ การออกแบบผลติ ภณั ฑม์ ชี วี ติ โดยค�านงึถงึปฏสิมัพนัธ์ ด้านการสื่อสารบนตัวผลิตภัณฑ์กับผู้ใช้ ซึ่งผ่านสิ่งบ่งชี้วิธีใช้สอย “Affordance” ที่ เปน็ตวักลางการรบัรรู้ะหวา่งมนษุยก์บัผลติภณัฑ์ ชว่ยในการรบัรแู้ละท�าความเขา้ใจ วา่จะตอ้งมปีฏกิริยิาอยา่งไรในการกระท�ากบัวตัถุ โดยสงิ่บง่ชวี้ธิใีชส้อยเปน็ตวัก�าหนด ของพฤติกรรมหรือการกระท�าของมนุษย์ท่ีมีต่อการใช้งานผลิตภัณฑ์น้ันๆ หาก ผลติภณัฑจ์ะมชีวีติได้ ผลติภณัฑเ์องตอ้งสามารถสอ่ืสารและบง่ชถ้ีงึหนา้ทก่ีารใชง้าน การรับรู้ด้านการมองเห็นจึงเป็นส่วนส�าคัญในการสื่อสารและส่งผลถึงปฏิกิริยาการ กระท�าที่เกิดขึ้นหลังจากการตีความหมาย สิ่งบ่งชี้วิธีใช้สอยที่ดีจึงเป็นส่วนส�าคัญ ในการลดความผิดพลาดในการใช้งานผลิตภัณฑ์ได้

References

กัมพล แสงเอี้ยม. 2556. การออกแบบระบบคัดแยกประเภทขยะมูลฝอยใน โรงเรยีนประถมศกึษา. วารสารครศุาสตรอ์ตุสาหกรรม สถาบนัเทคโนโลยี พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง, 12(2), 95-102. สกล ธรีะวรญัญ.ู 2554. ตวับง่บอกการใชง้าน Affordance. [online]. เขา้ถงึไดจ้าก: http://digital.lib.kmutt.ac.th/magazine/issue5/articles/article1.html. สืบค้นวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 สกล ธีระวรัญญู. 2554. ปฏิสัมพันธ์ระหว่างคนกับผลิตภัณฑ์ คืออะไร. [online]. เข้าถึงได้จาก : http://digital.lib.kmutt.ac.th/magazine/issue2/ articles/art4.html. สืบค้นวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 Gibson, J. J. 1987. The Ecological Approach to Visual Perception. Lawrence Erlbaum Assoc. Norman, A. D. 1988. The Design of Everyday Things. New York, Currency and Doubleday, p. 9. Rogers, Y., and Sharp, H. 2002. Interaction Design. John Wiley & Sons, Inc., pp. 18–19 https://twitter.com/laghari_ux/status/679046554959802368 สืบค้นวันที่ 1 กันยายน พ.ศ. 2559 https://www.dek-d.com/studyabroad/35729/ สบืคน้วนัที่ 1 กนัยายน พ.ศ. 2559

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์