การศึกษาและพัฒนาการนำผ้าฝ้ายทอมือ มาประยุกต์ใช้ใน การสร้างสรรค์เพ่ือพัฒนาผลิตภัณฑ์ กรณีศึกษา : กลุ่มหมู่บ้าน ผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อำเภอป่าซาง จังหวัดลำพูน

ผู้แต่ง

  • กิตติพงษ์ เกียรติวิภาค

คำสำคัญ:

การออกแบบ / ผ้าฝ้ายทอมือ / ผลิตภัณฑ์

บทคัดย่อ

การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาการน�าผ้าฝ้ายทอมือ มาประยกุตใ์ชใ้นการสรา้งสรรคเ์พอื่พฒันาผลติภณัฑ์ รวมถงึสง่เสรมิงานศลิปหตัถกรรม ในท้องถ่ินให้มีสินค้ามากข้ึน รายได้เพ่ิมข้ึนและได้รูปแบบท่ีสามารถน�าไปพัฒนา และต่อยอดทางความคิด รวมถึงความร่วมมือกันระหว่างชุมชนในการผลิตชิ้นงาน กรณีศึกษากลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อ�าเภอป่าซาง จังหวัดล�าพูน โดยท�าการศึกษาและลงพ้ืนท่ีส�ารวจรูปแบบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก ผ้าฝ้ายทอมือท่ีชุมชนผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวงและละแวกใกล้เคียง (จังหวัด ล�าพนูและจงัหวดัเชยีงใหม)่ รวมถงึการสมัภาษณค์วามตอ้งการและลกัษณะการพฒันา รูปแบบผลิตภัณฑ์จากกลุ่มร้านค้า ผู้ผลิตและผู้จ�าหน่ายสินค้าจากผ้าฝ้ายทอมือ บ้านดอนหลวง เพื่อให้ข้อมูลและผลลัพธ์ที่ได้กลับไปต่อยอด พัฒนาให้ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายและความต้องการของสังคมในปัจจุบัน โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง ภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (Image Planning) และแนวโน้มในการออกแบบเข้ามาช่วย ในการวเิคราะหแ์ละพฒันาผลติภณัฑ์ ซง่ึผลงานจากการศกึษาทไ่ีดท้�าการออกแบบ และพัฒนาจ�าแนกได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่ การออกแบบและพัฒนาเคร่ืองนุ่งห่มการวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและพัฒนาการน�าผ้าฝ้ายทอมือ มาประยกุตใ์ชใ้นการสรา้งสรรคเ์พอื่พฒันาผลติภณัฑ์ รวมถงึสง่เสรมิงานศลิปหตัถกรรม ในท้องถ่ินให้มีสินค้ามากข้ึน รายได้เพ่ิมข้ึนและได้รูปแบบท่ีสามารถน�าไปพัฒนา และต่อยอดทางความคิด รวมถึงความร่วมมือกันระหว่างชุมชนในการผลิตชิ้นงาน กรณีศึกษากลุ่มหมู่บ้านผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวง อ�าเภอป่าซาง จังหวัดล�าพูน โดยท�าการศึกษาและลงพ้ืนท่ีส�ารวจรูปแบบ การแปรรูปผลิตภัณฑ์จาก ผ้าฝ้ายทอมือท่ีชุมชนผ้าฝ้ายทอมือบ้านดอนหลวงและละแวกใกล้เคียง (จังหวัด ล�าพนูและจงัหวดัเชยีงใหม)่ รวมถงึการสมัภาษณค์วามตอ้งการและลกัษณะการพฒันา รูปแบบผลิตภัณฑ์จากกลุ่มร้านค้า ผู้ผลิตและผู้จ�าหน่ายสินค้าจากผ้าฝ้ายทอมือ บ้านดอนหลวง เพื่อให้ข้อมูลและผลลัพธ์ที่ได้กลับไปต่อยอด พัฒนาให้ตรงกับ กลุ่มเป้าหมายและความต้องการของสังคมในปัจจุบัน โดยใช้ทฤษฎีการสร้าง ภาพลักษณ์ผลิตภัณฑ์ (Image Planning) และแนวโน้มในการออกแบบเข้ามาช่วย ในการวเิคราะหแ์ละพฒันาผลติภณัฑ์ ซง่ึผลงานจากการศกึษาทไ่ีดท้�าการออกแบบ และพัฒนาจ�าแนกได้เป็น 2 กลุ่มได้แก่ การออกแบบและพัฒนาเคร่ืองนุ่งห่ม(เสื้อผ้าส�าหรับเด็ก) จ�านวน 25 รูปแบบ และการออกแบบกระเป๋าสตรี จ�านวน 25 รปูแบบ ซง่ึผลงานทไ่ีดร้บัการออกแบบ ใชข้อบเขตการออกแบบคอื ตอ้งมคีณุคา่ของ ธรรมชาติหรืองานหัตถกรรม, มีเอกลักษณ์และศิลปวัฒนธรรมของท้องถิ่น, วัสดุ และกรรมวิธีการผลิตของท้องถิ่น, ผลิตได้จริง ใช้สอยดี เหมาะสมกับวัสดุท้องถิ่น, ความสวยงามและความน่าสนใจและรูปแบบแปลกใหม่ สะดุดตา ซึ่งผลจากการแจกแบบสอบถามกลุ่มประชากร เพื่อท�าการศึกษา ความคดิเหน็และความพงึพอใจ (4P) ทม่ีตีอ่ผลติภณัฑจ์ากการแปรรปูผา้ฝา้ยทอมอื ที่ได้รับการออกแบบและพัฒนาแล้วจ�านวน 350 คน พบว่า ภาพรวมกลุ่มตัวอย่าง มีทัศนคติเชิงบวกในระดับมากที่สุดต่อผลิตภัณฑ์ ( = 4.27) โดยประเด็นที่ กลุ่มตัวอย่างเห็นด้วยสูงท่ีสุดได้แก่ ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือสามารถต่อยอด พัฒนารูปแบบและลวดลายในอนาคตได้ ( = 4.41) รองลงมาอีก 4 อันดับได้แก่ ผลติภณัฑจ์ากผา้ฝา้ยทอมอืสะทอ้นการพฒันาผลติภณัฑต์น้แบบใหม้มีลูคา่เพม่ิมากขน้ึ ( = 4.37), ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือมีรูปแบบและการประยุกต์ที่สวยงามและ เป็นที่ดึงดูดใจ / ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือเป็นการใช้เทคนิคภูมิปัญญาท้องถิ่น แบบเดิมมาใช้ในการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ ( = 4.35), ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือ สามารถพัฒนาเป็นสินค้าที่เพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจให้กับชุมชนได้ ( = 4.34), ผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้ายทอมือสะท้อนความเป็นเอกลักษณ์และลักษณะเฉพาะของ ความเปน็ทอ้งถน่ิไดอ้ยา่งชดัเจน ( = 4.33) และภาพรวมความพงึพอใจตอ่ผลติภณัฑ์ ผ้าฝ้ายทอมือที่ได้รับการออกแบบสร้างสรรค์ที่ได้รับการออกแบบสร้างสรรค์ใหม่ ทั้งหมดจากการวิจัยอยู่ในระดับมาก (ค่าเฉลี่ย 8.23 จากคะแนนเต็ม 10) 

References

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. 2548. รูปแบบผลิตภัณฑ์ หัตถกรรมไทย. กรุงเทพ : พิมพ์ที่กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. คณะกรรมการอ�านวยการหน่ึงต�าบลหน่ึงผลิตภัณฑ์แห่งชาติ(กอ.นตผ.). 2545. ผลิตภัณฑ์ผ้าภูมิปัญญาไทย. โครงการหนึ่งต�าบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ : ส�านัก นายกรฐั มนตรี วา่ดว้ยคณะกรรมการอ�านวยการ หนงึ่ต�าบล หนงึ่ผลติภณัฑ์ แห่งชาติ. ตระกลูพนัธ์ พชัรเมธา. 2557. การสรา้งภาพลกัษณผ์ลติภณัฑเ์พอ่ืก�าหนดแนวคดิ การออกแบบ. กรงุเทพฯ : ศลิปกรรมสาร ปที่ี 9 ฉบบัท่ี 1. คณะศลิปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. นวลน้อย บุญวงศ์. 2539. การออกแบบผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ : โอเดียนสโตร์. วรัญญู อัศวพุทธิ. 2549. พัฒนาการด้านการผลิตและการจัดการตลาดของ เครื่องประดับเงินเมี่ยน กรณีศึกษา บ้านห้วยสะนาว ต�าบลป่ากลาง อ�าเภอปัว จังหวัดน่าน. ภาคนิพนธ์วิทยาลัยสหวิทยาการ มหาวิทยาลัย ธรรมศาสตร์. วชัรนิทร์ จรงุจติสนุทร. 2548. THEORY AND CONCEPT OF DESIGN หลกัการ และแนวคิดการออกแบบ. กรุงเทพฯ : Idesign Pubishing.
ในปัจจุบันให้มากยิ่งขึ้น

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-10-04

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์