ออกแบบป้ายสัญลักษณ์เพ่ือการส่ือสาร การโดยสารรถไฟฟ้า บี ที เอส

ผู้แต่ง

  • กิตติพงษ์ รุธิรวรรณวงศ์

คำสำคัญ:

ป้ายสัญลักษณ์, สื่อสารมารยาท, รถไฟฟ้า บี ที เอส

บทคัดย่อ

งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและออกแบบป้ายสัญลักษณ์เพื่อ การสื่อสารการโดยสารรถไฟฟ้า บี ที เอส ให้มีศักยภาพทางการสื่อสารที่ถูกต้อง และตรงประเด็น โดยแบ่งขั้นตอนเป็น 3 ขั้นตอนหลัก ขั้นตอนที่ 1 ขั้นตอนศึกษา ปา้ยสญัลกัษณแ์ละออกแบบปา้ยสญัลกัษณบ์นรถไฟฟา้ บี ที เอส จ�านวน 3 รปูแบบ ท่ีแตกต่างกัน ข้ันตอนท่ี 2 ข้ันตอนประเมินผลโดยผู้เช่ียวชาญ ผู้วิจัยน�าผลงาน ออกแบบป้ายสัญลักษณ์ผ่านการประเมินผลจากผู้เชี่ยวชาญจ�านวน 3 ท่าน เพื่อ รวบรวมความคดิเหน็ปรบัปรงุและแกไ้ขผลงานออกแบบทง้ั 3 แบบ และขน้ัตอนท่ี 3 ขั้นตอนประเมินผล โดยกลุ่มตัวอย่าง ผู้วิจัยน�าผลงานที่ปรับปรุงตามความคิดเห็น ของผเู้ชย่ีวชาญ แลว้สง่ตอ่ไปยงักลมุ่ตวัอยา่งจ�านวน 100 คนทม่ีกีารโดยสารรถไฟฟา้ บี ที เอส เป็นประจ�า เพื่อคัดเลือกผลงานออกแบบที่กลุ่มตัวอย่างพึงพอใจ ผลการประเมนิ จากผเู้ชย่ี วชาญ พบวา่ ผเู้ชย่ีวชาญทง้ั 3 ทา่น ใหค้วามคดิเหน็ ต่อผลงานออกแบบแตกต่างกัน และคัดเลือกผลงานออกแบบแตกต่างกันด้วย ส�าหรับผลการประเมินจากกลุ่มตัวอย่าง ให้คะแนนความพึงพอใจที่มีต่อผลงาน ออกแบบป้ายสัญลักษณ์เพื่อการสื่อสารการโดยสารรถไฟฟ้า บี ที เอส อย่างเป็น เอกฉันท์ และมีความคิดเห็นเพ่ิมเติมบางส่วน ผู้วิจัยจึงน�าความคิดเห็นเหล่าน้ี ไปปรับปรุงผลงานต่อไป

References

กลุ่มสถิติประชากร ส�านักสถิติสังคม ส�านักงานสถิติแห่งชาติ. 2554. รายงานผล เบื้องต้น สปค. 2553 (ออนไลน์). 16 ธันวาคม 2556 จาก http:// popcensus.nso.go.th. ชาย สัญญาวิวัฒน์ และ สุภาวดี บุญยฉัตร. 2554. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ มจธ. (School of Architecture and Design) การออกแบบอัตลักษณ์ องค์กรเพื่อการสื่อสารที่ดี. (ม.ป.ท.) ณฐัพล เทยีวพานชิ. 2553. การศกึษาแนวทางการเพม่ิศกัยภาพการเดนิทางเขา้สู่ สถานรีถไฟฟา้ในยา่นชานเมอืงบรเิวณสถานอีอ่นนชุ กรงุเทพมหานคร. การคน้ ควา้ แบบอสิ ระ สาขาวชิาการวางแผนชมุชนเมอืงและสภาพแวดลอ้ม มหาบณั ฑติ ภาควชิาการออกแบบและวางผงัชมุชนเมอืง บณัฑติวทิยาลยั มหาวิทยาลัยศิลปากร. ทองเจือ เขียดทอง. 2548. การออกแบบสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ: สิปประภา. นวลน้อย บุญวงษ์. 2539. หลักการออกแบบ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย. ประชา สุวีรานนท์. 2511. ดีไซน์ + คัลเจอร์. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน. วิรุณ ตั้งเจริญ. 2531. ออกแบบกราฟิค. กรุงเทพฯ: วิฌวล อาร์ต. สกนธ์ ภู่งามดี. 2545. จิตวิทยากับการออกแบบ. กรุงเทพฯ: วาดศิลป์. เอื้อเอ็นดู ดิศกุล ณ อยุธยา. 2543. ระบบป้ายสัญลักษณ์. กรุงเทพฯ: พลัสเพลส.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-10-04

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์