การวิจัยและสร้างสรรค์ผลงานออกแบบฉากละครเวที เร่ืองค�าพิพากษาของชาติ กอบจิตติ
บทคัดย่อ
ศลิ ปะการละคร เปน็ศลิปะทน่ี�าภาพจากประสบการณแ์ละจนิตนาการของ มนุษย์มาผูกเป็นเรื่องและจัดเสนอในรูปของการแสดงใช้ศิลปะและผู้สร้างสรรค์ใน หลายด้านท�างานร่วมกัน ในงานออกแบบฉากละคร ผู้ออกแบบต้องมีความเข้าใจ บทละครอยา่งลกึซง้ึ มกีระบวนการในการออกแบบเพอ่ืใหต้อบสนองความตอ้งการ ด้านต่างๆ ละครเวทีเรื่องค�าพิพากษาของชาติ กอบจิตติ สร้างจากบทประพันธ์ที่มี ความงดงาม มีเรื่องราวที่สะท้อนสังคม ให้ทั้งความเพลิดเพลินและคุณค่าทางจิตใจ แกผ่ชู้ม กระบวนการออกแบบเรมิ่จากการศกึษาวรรณกรรมตน้ฉบบัเพอื่ท�าความเขา้ใจ เนื้อหาของบทประพันธ์รวมถึงวิเคราะห์และตีความบทละคร ได้ผลการวิจัยดังนี้ ละครเวทีเรื่องค�าพิพากษา สะท้อนสังคมให้เห็นถึงอันตรายจากมติของ กลมุ่คนทต่ีดัสนิผอู้น่ืโดยปราศจากการทบทวนไตรต่รอง ความคดิทแ่ีตกตา่งจะถกูกลนื ความจริงที่ผู้ชมมองเห็นจะแตกต่างจากตัวละครอื่นในเรื่อง ความพยายามที่จะ ยนืหยดักลบักลายเปน็โศกนาฏกรรมในทา้ยทสี่ดุ การแสดงออกของอารมณค์วามรสู้กึ ผ่านการร้องที่ไม่ปรกติธรรมดา จงใจให้มีรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากละครแบบ เรยีลลสิม์ (Realism) ผชู้มสามารถแสวงหาและจนิตนาการผา่นสญัลกัษณต์ลอดจน ถึงสิ่งที่ปรากฏบนเวที การค้นคว้าข้อมูลจึงมุ่งเน้นไปที่แนวทางการน�าเสนอเพื่อ ผลกระทบทางด้านอารมณ์ความรู้สึกศลิ ปะการละคร เปน็ศลิปะทน่ี�าภาพจากประสบการณแ์ละจนิตนาการของ มนุษย์มาผูกเป็นเรื่องและจัดเสนอในรูปของการแสดงใช้ศิลปะและผู้สร้างสรรค์ใน หลายด้านท�างานร่วมกัน ในงานออกแบบฉากละคร ผู้ออกแบบต้องมีความเข้าใจ บทละครอยา่งลกึซง้ึ มกีระบวนการในการออกแบบเพอ่ืใหต้อบสนองความตอ้งการ ด้านต่างๆ ละครเวทีเรื่องค�าพิพากษาของชาติ กอบจิตติ สร้างจากบทประพันธ์ที่มี ความงดงาม มีเรื่องราวที่สะท้อนสังคม ให้ทั้งความเพลิดเพลินและคุณค่าทางจิตใจ แกผ่ชู้ม กระบวนการออกแบบเรมิ่จากการศกึษาวรรณกรรมตน้ฉบบัเพอื่ท�าความเขา้ใจ เนื้อหาของบทประพันธ์รวมถึงวิเคราะห์และตีความบทละคร ได้ผลการวิจัยดังนี้ ละครเวทีเรื่องค�าพิพากษา สะท้อนสังคมให้เห็นถึงอันตรายจากมติของ กลมุ่คนทต่ีดัสนิผอู้น่ืโดยปราศจากการทบทวนไตรต่รอง ความคดิทแ่ีตกตา่งจะถกูกลนื ความจริงที่ผู้ชมมองเห็นจะแตกต่างจากตัวละครอื่นในเรื่อง ความพยายามที่จะ ยนืหยดักลบักลายเปน็โศกนาฏกรรมในทา้ยทสี่ดุ การแสดงออกของอารมณค์วามรสู้กึ ผ่านการร้องที่ไม่ปรกติธรรมดา จงใจให้มีรูปแบบที่แตกต่างออกไปจากละครแบบ เรยีลลสิม์ (Realism) ผชู้มสามารถแสวงหาและจนิตนาการผา่นสญัลกัษณต์ลอดจน ถึงสิ่งที่ปรากฏบนเวที การค้นคว้าข้อมูลจึงมุ่งเน้นไปที่แนวทางการน�าเสนอเพื่อ ผลกระทบทางด้านอารมณ์ความรู้สึกในขั้นพัฒนา ร่างแหถูกวิเคราะห์ว่าเป็นค�าส�าคัญในแนวทางการน�าเสนอ ใชใ้นเชงิอปุมาเหมอืนกบัดกัและความอนัตราย การออกแบบโดยการใชว้สัดทุดี่เูปน็ ท้องถิ่นอย่างไม้ไผ่เพื่อให้มองเห็นได้ชัดรวมเข้ากับโครงสร้างโลหะที่จัดวางเอียง เพื่อให้รู้สึกถึงความอึดอัด การกดทับ พื้นมีความเอียงเพื่อให้รู้สึกถึงความไม่มั่นคง มีความล่ืนไหลเปล่ียนแปลงและเป็นการสร้างให้เกิดพ้ืนท่ีส�าหรับท�าการแสดงท่ี หลากหลาย มไีสตลข์องฉากในแบบเอก็ซเปรสชนันสิม์ (Expressionism) เพอ่ืสอ่ืถงึ อารมณ์ของตัวละคร โครงสร้างหลักทั้งพื้นและผนังถูกสร้างด้วยการเชื่อมโลหะ เพื่อความแข็งแรง เทคนิคการทาสีพื้นท�าให้เกิดพื้นผิวที่ดูมีมิติ ในขั้นพัฒนาที่สอง มีการปรับปรุงเพิ่มเติมทางเดิน มีการพิจารณาองค์ประกอบเพื่อปรับปรุงให้เกิด ความกลมกลืนมากขึ้น โปรแกรมคอมพิวเตอร์สามมิติถูกน�ามาใช้ในกระบวนการ ออกแบบ ตั้งแต่ร่างภาพจนถึงการท�าโมเดล ท�าให้เกิดความคล่องตัวในการท�างาน รว่มกนัระหวา่งทมีงาน สามารถมองเหน็ภาพไดต้รงกนั เกดิประสทิธภิาพในการท�างาน