เปรียบเทียบรูปแบบและองค์ประกอบการแสดงหนังใหญ่ แบบราชส�านักและแบบพ้ืนบ้าน

ผู้แต่ง

  • ยุทธนา อัมระรงค์ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

หนังใหญ่, หนังใหญ่แบบราชส�านัก, หนังใหญ่แบบพื้นบ้าน, หนังใหญ่ วัดขนอน

บทคัดย่อ

การวจิยัครงั้นมี้วีตัถปุระสงคเ์พอื่ศกึษาความเปน็มาและเปรยีบเทยีบรปูแบบ การแสดงหนังใหญ่แบบราชส�านักที่สืบทอดมายังกรมศิลปากร และแบบพื้นบ้าน ตามรูปแบบของคณะหนังใหญ่วัดขนอน จังหวัดราชบุรี เพื่อวิเคราะห์แนวทาง ในการพัฒนาการแสดงหนังใหญ่ โดยศึกษาจากเอกสาร สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิ สงัเกตการณแ์ละฝกึปฏบิตักิารแสดงหนงัใหญจ่ากศลิปนิพน้ืบา้น ผลการศกึษาพบวา่ มีลักษณะที่แตกต่างกัน ได้แก่ 1) การคัดเลือกคนเชิด กรมศิลปากรคัดเลือกจาก ขา้ราชการ สว่นวดัขนอนคดัเลอืกจากเยาวชนในทอ้งถน่ิ 2) ทา่เตน้และการเชดิหนงั กรมศิลปากรใช้ท่าเต้นท่ีสืบทอดมาจากกรมมหรสพ เน้นการใช้หน้าหนัง มีหลัก การเชิดคล้ายกับการแสดงโขน ส่วนวัดขนอนใช้ท่าเต้นที่สืบทอดกันในท้องถิ่น ซึ่งมีลีลาเฉพาะ 3) ดนตรีประกอบการแสดง ใช้วงปี่พาทย์ไม้แข็งเช่นเดียวกัน แต่กรมศิลปากรมีเครื่องดนตรีพิเศษ 3 ประเภท คือ ปี่กลาง โกร่ง และกลองติ๋ง ส่วนวัดขนอนใช้ปี่ในและโกร่ง แต่ไม่ใช้กลองต๋ิง 4) เคร่ืองแต่งกายของคนเชิดมี ลักษณะคล้ายกัน แต่วัดขนอนไม่สวมหมวกหูกระต่าย 5) เคร่ืองแต่งกายของ คนพากย-์เจรจา กรมศลิปากรสวมชดุราชปะแตน สว่นวดัขนอนแตง่กายเชน่เดยีวกบั คนเชิด 6) การพากย์-เจรจา กรมศิลปากรแบ่งหน้าที่กันพากย์ตามบทบาท มี แบบแผนและด�าเนนิเรอ่ืงชา้ สว่นวดัขนอนจะมลีลีาแบบทอ้งถน่ิ ด�าเนนิเรอ่ืงรวดเรว็ คนพากย์-เจรจาต้องพากย์ได้ทุกบทบาท 7) ทิศทางในการแสดงตรงกันข้ามกัน8) กรมศิลปากรไม่มีผู้ก�ากับการแสดง ส่วนวัดขนอนมีผู้จัดหนังท�าหน้าท่ีคล้าย ผู้ก�ากับการแสดง จากการเปรียบเทียบสามารถสรุปได้ว่าองค์ประกอบหลักของ การแสดง เชน่ ตวัหนงั รปูแบบการแสดง ไมค่วรเปลย่ีนแปลง สว่นองคป์ระกอบอน่ืๆ เชน่ จอ การใหแ้สง เครอ่ืงดนตรี เครอ่ืงแตง่กาย สามารถเปลย่ีนแปลงไดต้ามยคุสมัย

References

งาน 1 ทศวรรษ เทศกาลหนงัใหญว่ดัขนอน ในเทศกาลสงกรานต ์13-14 เมษายน 2558. สืบค้นจาก http://zeekway.com/๑-ทศวรรษ. ชนิศรา ช่างหล่อ. (2557). รูปแบบและกระบวนการจัดการในการสืบทอด หนงัใหญว่ดับา้นดอน จงัหวดัระยอง. วทิยานพินธป์รญิญารฐัประศาสน ศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา. ชีวสิทธิ์ บุณยเกียรติ, และคนอื่นๆ. (2549). หนังใหญ่วัดบ้านดอน. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร (องค์การมหาชน). นิวัฒน์ สุขประเสริฐ. (2524). หนัง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรบัณฑิต, คณะนาฏศิลปและดุริยางค์, วิทยาลัยเทคโนโลยีและอาชีวศึกษา. เปรมรัศมี ธรรมรัตน์. (2552). การวิเคราะห์คุณค่าและการด�ารงอยู่ของ ศลิปวฒันธรรมพน้ืบา้น : กรณศีกึษาหนงัใหญว่ดัขนอน อ�าเภอโพธาราม จังหวัดราชบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร. รัถพร ซังธาดา. (2526). หนังปะโมทัย : หนังตะลุงภาคอีสาน. ม.ป.ท.: ศักดิโสภา การพิมพ์. ราศี บุรุษรัตนพันธ์. (2551). “หนังใหญ่ : เงาอดีตที่ทอดยาว.” ในเหลียวหน้า แลหลัง ดูหนังใหญ่, หน้า 5-12. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. ศิลปากร, กรม. (2521). กฎหมายตราสามดวง. กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.. สธุวิงศ์ พงศไ์พบลูย.์ (ม.ป.ป.). หนงัตะลงุ. สงขลา: มหาวทิยาลยัศรนีครนิทรวโิรฒ สงขลา. หนงัใหญว่ดัขนอน. สบืคน้จาก https://nathpong.wordpress.com/2013/06/16/ หนังใหญ่-วัดขนอน. หนังใหญ่วัดบ้านดอน จ.ระยอง (ทัพลิง). สืบค้นจาก https://www.youtube. com/watch?v=MKuqV 7Exi-Q.
ศิลปกรรมสาร 99
อนุกูล โรจนสุขสมบูรณ์. (2542). การเชิดหนังใหญ่วัดสว่างอารมณ์ จังหวัด สิงห์บุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชา นาฏยศิลป์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อาคม สายาคม. (2525). “หนังใหญ่.” ในศิลปวัฒนธรรมไทย เล่ม 7 นาฏดุริยางคศิลปไทย กรุงรัตนโกสินทร์, หน้า 99-124. กรุงเทพฯ: กรมศิลปากร. อิษฎา ภัทรปรีชาวิทย์. (2550). หนังใหญ่ : กรณีศึกษาหนังใหญ่วัดบ้านดอน อ�าเภอเมืองระยอง จังหวัดระยอง. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตร มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. เอนก นาวิกมูล. (2546). หนังตะลุง-หนังใหญ่. รวมสารคดีว่าด้วยหนังตะลุง ทั่วประเทศและหนังใหญ่ภาคกลาง. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: พิมพ์ค�า.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์