อิทธิพลตัวการ์ตูนสมัยใหม่ ในงานจติรกรรมแนวประเพณีไทย โดยใช้เทคนิคลายรดน้ำ กับการรับรู้ของผู้เข้าชม

ผู้แต่ง

  • สมระวี นพศิริ คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ลายรดน�้า, จิตรกรรมสมัยใหม่

บทคัดย่อ

จากการวิจัยเรื่อง กรณีศึกษาเพื่อการสร้างสรรค์งานศิลปะ เรื่องอิทธิพล ตัวการ์ตูนที่มีต่องานวัดไทยในปัจจุบันโดยใช้เทคนิคลายรดน�้า มีความมุ่งหมาย เพื่อศึกษาเรื่องตัวการ์ตูนและน�าความรู้ที่ได้จากการศึกษาค้นคว้ามาสร้างสรรค์ ผลงานจติรกรรมสมยัใหมเ่พอ่ืถา่ยทอดแนวคดิจนิตนาการของตวัการต์นูทม่ีบีทบาท ในงานวดักบัสงัคมไทย โดยน�าตวัการต์นูทคี่นุ้เคยมาสรา้งสรรคผ์ลงานโดยใชล้ายรดน�้า เพอื่สรา้งความสนใจใหก้บัภาพเทคนคินมี้คีวามประสานกลมกลนืกนั อนัเปน็ลกัษณะ พิเศษโดยเฉพาะของศิลปะไทย องค์ประกอบของภาพมีความหรูหรา ตลอดจน ความสวยงามของลวดลาย และความสวา่งของทองค�าเปลวท�าใหภ้าพเกดิความสวา่ง จากตัววัสดุท�าให้งานดูมีคุณค่าซึ่งเป็นตัวแทนของความศรัทธาที่มีต่อศาสนาถึง เลอืกใชว้สัดทุม่ีคีา่เชน่ทองค�าเปลวมาเพอ่ืเปน็พทุธบชูาพระศาสนา ซง่ึภายในภาพก็ จะมเีรอ่ืงราวเกย่ีวกบังานวดัในสงัคมทอ้งถน่ิปจัจบุนัทพ่ีบเหน็การละเลน่ชนดิตา่งๆ ท่ีได้น�าตัวการ์ตูนมาใช้ในการสร้างแรงจูงใจให้ผู้คนเข้ามาเท่ียวในงานวัดมากข้ึน โดยเฉพาะเดก็ในสงัคมสมยัใหมเ่ขา้วดักนันอ้ยลง จงึตอ้งมสีง่ิทด่ีงึดดูและเปน็แรงจงูใจ ให้เด็กๆ เข้ามามากขึ้น ก็คือ ตัวการ์ตูน

References

กรมวิชาการ. (2534). ควำมคิดสร้ำงสรรค์ : หลักกำร ทฤษฎี กำรเรียน กำรสอน กำรวัดผลประเมิน. กรุงเทพฯ: กรมฯ. ขา่วทว่ัไทย. (2555, พฤศจกิายน). ตน่ืชมภำพวำด “ทรำนฟอรเ์มอร”์ฝำผนงั วัดดัง. เดลินิวส์. หน้า 7. ทาการะ โทมี. ทรานฟอร์เมอร์. กรุงเทพ: ซีเอ็ดบุ๊ค. คณะนิสิตเทคโนโลยีทางการศึกษา. (2522). นวัตกรรมและเทคโนโลยี ทำงกำรศึกษำ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. งำนช่ำงลำยรดน�้ำ. (2556). สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2556, จาก http:// siamwoodcarving.com/knowledge/143. งำนวดั. (2556). สบืคน้เมอ่ื 1 กรกฏาคม 2556, จาก http://bicycle2011.com. จกัรพนัธ ์ุโปษยกฤต : ศลิปนิแหง่ชำตกิบังำนจติรกรรมอนังดงำม ออ่นชอ้ย. (2556). สบืคน้เมอื่1กรกฏาคม 2556, จาก http://www.abhakara.com จินตนา ใบกาซูยี. (2534). หนังสือกำร์ตูน :ประโยชน์ในกำรเรียนกำรสอน ในกำรสง่เสรมิและกำรพฒันำหนงัสอืกำรต์นูไทย. เอกสารเพอื่พฒันา หนงัสอืการต์นูของกรมวชิาการ. กรงุเทพฯ: โรงพมิพค์รสุภาลาดพรา้ว. ฉวีวรรณ คูหาภินันท์. (2527). กำรท�ำหนังสือส�ำหรับเด็ก.พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: บูรพาสาสน์. ตพู้ระธรรมลำยรดนำ�้ : ฝมีอืครวูดัเซงิหวำย. (2556). สบืคน้เมอื่ 1 กรกฏาคม 2556, จาก http://www.oknation.net/blog/print.php?id=95257. ชม ภูมิภาค. (2536). เทคโนโลยีทำงกำรสอนและกำรศึกษำ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ประสานมิตร. ทฤษฎีกำร์ตูนอย่ำงง่ำย. (2555). สืบค้นเมื่อ 1 มีนาคม 2556, จาก http:// chickydance.exteen.com
161
ศิลปกรรมสาร
นิภาภรณ์ ตั้งตระการพงษ์. (2537). กำรทดลองใช้กำร์ตูนเพื่อสร้ำงเสริม และพัฒนำทักษะกระบวนกำรทำงวิทยำศำสตร์ขั้นพื้นฐำนของ นกัเรยีน ชนั้มธัยมศกึษำปที ี่1 โรงเรยีนในโครงกำรขยำยโอกำสทำง กำรศึกษำ สังกัดส�ำนักงำนกำรประถมศึกษำจังหวัดพิษณุโลก. วทิยานพินธ ์กศ.ม. (การวดัผลการศกึษา). พษิณโุลก: บณัฑติวทิยาลยั มหาวิทยาลัยนเรศวร. ถ่ายเอกสาร. เนื้ออ่อน ขรัวทองเขียว. (2552). กำรศึกษำจิตรกรรมฝำผนังพระอุโบสถ วัดกลำงวรวิหำร จังหวัดสมุทรปรำกำร. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2556, จาก http://research.dusit.ac.th/ เบญจะ เกสพานชิ. (2539). ควำมสมัพนัธร์ะหว่ำงกำรรบัรกู้ำรสอื่ควำมหมำย จำกภำพกำร์ตูนกับควำมคิดสร้ำงสรรค์. ปริญญานิพนธ์ กศ.ม. (เทคโนโลยีการศึกษา). กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัย ศรีนครินทรวิโรฒ. ถ่ายเอกสาร. ประวตักิำรต์นูไทย. (2556). สบืคน้เมอ่ื 1 กรกฎาคม 2556, จาก http://lms. thaicyberu.go.th. พดุงศักดิ์ คชส�าโรง. (2556). ควำมหมำยของสุนทรียศำสตร์. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2556, จาก www.finearts.cmu.ac.th/ พัน สุขเจริญ. (2525). กำร์ตูนสื่อกำรสอนอย่ำงส�ำคัญ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. รัชนี ศิริชัยเอกวัฒน์. (2536). จริยธรรมที่เด็กได้รับจำกหนังสือแบบเรียน ภำษำไทยและหนงัสอืกำรต์นู กรณศีกึษำนกัเรยีนชน้ัประถมศกึษำ ปีที่ 6 โรงเรียนสมฤดี สมุทรสำคร. วิทยานิพนธ์ นศ.ม. (การสื่อสาร มวลชน). กรงุเทพฯ: บณัฑติวทิยาลยัจฬุาลงกรณม์หาวทิยาลยั. ถา่ยเอกสาร. รื่นเริงงำนวัด คลำสสิคสยำม. (2556). สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2556, จาก http://www.palungdham.com/t917.html. วิภาวี จุฬามณี . (2556). จิตรกรรมฝำผนังภำพพุทธประวัติ 'โดรำเอมอน' ตกกระทะทองแดง. สืบค้นเมื่อ 1 กรกฎาคม 2556, จาก http:// lannaartist.rmutl.ac.th.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์