ศิลปหัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว : การอนุรักษ์และพัฒนา เพื่อต่อยอดภูมิปัญญา หัตถกรรมชุมชน

ผู้แต่ง

  • สักรินทร, ดร.เกรียงศักดิ์, ดร.ศักดิ์ชา อินทรวงค์, เขียวมั่ง, สิกขา คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) ศึกษาวิเคราะห์ และสังเคราะห์ รูปแบบ วสัด ุเทคนคิ และกรรมวธิ ีของศลิปหตัถกรรมทองเหลอืง บา้นปะอาว 2) การอนรุกัษ์ ภมูปิญัญาและพฒันาศลิปหตัถกรรมทองเหลอืง บา้นปะอาว 3) ออกแบบผลติภณัฑ์ ต้นแบบจากการศึกษารูปแบบ วัสดุ เทคนิค และกรรมวิธีของศิลปหัตถกรรม ทองเหลือง บ้านปะอาว จังหวัดอุบลราชธานี ผลการวิจัย พบว่า มีดังต่อไปนี้ 1. รูปแบบ ประกอบด้วย 2 ประเภท คือ 1) หัตถกรรมทองเหลือง แบบ ดั้งเดิม เช่น กระดิ่ง กระพรวน ชุดเซี่ยนหมาก 2) รูปแบบหัตถกรรมทองเหลือง แบบใหม่ เช่น เกวียนเทียมวัวจ�าลอง ก�าไล 2. วัสดุ พบว่า วัสดุที่ใช้ในงานหัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว โดย กรรมวิธีการหล่อแบบโบราณแบบสูญข้ีผ้ึง มี 2 ประเภท คือ 1) วัสดุท่ีใช้หล่อ หัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว เป็นโลหะผสม มีทองเหลือง ส่วนผสมระหว่าง ทองแดงกบัสงักะส ีและยงัมสีว่นผสมของโลหะอน่ืๆ เชน่ ดบีกุ อะลมูเินยีมและตะกว่ั 2) วสัด ุอปุกรณแ์ละเครอื่งมอืทใี่ชใ้นกระบวนการหลอ่ทองเหลอืงแบบสญูขผี้งึ้ พบวา่ มีด้วยกัน 10 ชนิด ซึ่งเป็นวัสดุ อุปกรณ์และเครื่องมือแบบโบราณที่หาได้ในท้องถิ่น3. เทคนิคและกรรมวิธีของศิลปหัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว จาก การศึกษาพอสรุปเป็นขั้นตอนได้ 18 ขั้นตอน แต่ละขั้นตอนเป็นงานที่ใช้ฝีมือใน การท�าทั้งสิ้น 4. การอนุรักษ์ภูมิปัญญาศิลปหัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว เป็น การอนุรักษ์รูปแบบหัตถกรรมทองเหลือง และลวดลายหัตถกรรมทองเหลือง แบบดั้งเดิม และการอนุรักษ์เทคนิคและกรรมวิธีการหล่อแบบสูญขี้ผึ้ง 5. การพัฒนาศิลปหัตถกรรมทองเหลือง บ้านปะอาว ได้ท�าการทดลอง หตัถกรรมทองเหลอืง 3 สว่น คอื สว่นท ี่1 เปน็การทดลองหาสว่นผสมของหตัถกรรม ทองเหลือง บ้านปะอาว พบว่า ได้ส่วนผสมของทองเหลือง บ้านปะอาว ส่วนที่ 2 การทดลองผสมทองเหลอืง พบวา่ ไดส้ว่นผสมของทองเหลอืงทมี่คีณุสมบตัเิหมาะสม มากทส่ีดุกบัการออกแบบหตัถกรรมทองเหลอืงในรปูแบบเครอ่ืงตกแตง่ เครอ่ืงใชส้อย เครื่องประดับ และประติมากรรมแบบลอยตัว ส่วนที่ 3 การทดลองสร้างลวดลาย บนหัตถกรรมทองเหลือง พบว่าได้วิธีการสร้างลวดลายบนหัตถกรรมทองเหลือง 5 วิธี คือการชุบโลหะ การกัดกรด การเจาะ การแกะสลัก และการท�าสี 6. การสร้างสรรค์ผลงานศิลปหัตถกรรมทองเหลือง ได้ผลงานการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ต้นแบบหัตถกรรมทองเหลือง 4 รูปแบบ คือ 1) เครื่องตกแต่ง 2) เครื่องใช้สอย 3) เครื่องประดับ และ 4) ประติมากรรมแบบลอยตัว

References

ชวลิต เชียงกูล. 2545. โลหะวิทยำ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ: ส�านักพิมพ์ ส.ส.ท. สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี (ไทย-ญี่ปุ่น). นวลนอ้ย บญุวงษ.์ 2542. หลกักำรออกแบบ. พมิพค์รง้ัท ่ี2. กรงุเทพฯ: ส�านกัพมิพ์ แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. นริชั สดุสงัข.์ 2548. กำรวจิยักำรออกแบบผลติภณัฑอ์ตุสำหกรรม. กรงุเทพฯ: โอเดียนสโตร์. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. 2527. ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้ำน. กรุงเทพฯ: ปาณยา. วัฒนะ จูฑะวิภาต. 2527. หัตถกรรมพื้นบ้ำน. กรุงเทพฯ: กรมวิชาการ กระทรวงศึกษาธิการ. สาคร คันธโชติและวิศิษฐ์ ศิริสัมพันธ์. 2529. กำรออกแบบผลิตภัณฑ์โลหะ. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์. สรุยิา โชคสวสัดแิ์ละคณะ. 2551 . รำยงำนกำรวจิยัเรอื่ง หตัถกรรมทองเหลอืง บ้ำนปะอำว มรดกทำงศิลปวัฒนธรรม จำกภูมิปัญญำโบรำณ. ภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการ คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย อุบลราชธานี. Hopper, Robin. 1984. The Ceramic Spectrum . rev. Pensylvania: Chilton Book Company

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์