ดนตรีในพระราชพิธี สมัยรัตนโกสินทร์

ผู้แต่ง

  • อัศนีย์ เปลี่ยนศรี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

ดนตรีในพระราชพิธี ดนตรีพิธีกรรม ดนตรีในสมัยรัตนโกสินทร์

บทคัดย่อ

บทความน้ี มีจุดมุ่งหมายเพ่ือแสดงถึงนัยส�าคัญของดนตรีในพระราชพิธี หรือดนตรีพิธีกรรม ส�าหรับพระมหากษัตริย์ นอกจากคติความเช่ือท่ียึดถือว่า เสียงดนตรีเป็นเสียงศักดิ์สิทธิ์ที่เป็นสื่อกลางในการประสานระหว่างจิตมนุษย์ และ สิ่งที่มองไม่เห็นหรืออ�านาจเหนือธรรมชาติ ซึ่งมนุษย์เชื่อว่ามีอยู่จริง และสามารถ ติดต่อสื่อสารได้ด้วยการประกอบพิธีกรรม ดนตรีเป็นส่วนหนึ่งในการประกอบ พระราชพธิตีา่งๆ ใหม้คีวามสมบรูณ ์แสดงถงึพระเกยีรตยิศ เปน็สริสิวสัดแิ์กป่ระเทศชาติ และอ�านวยความสุขความเจริญสู่ประชาชน นัยส�าคัญของดนตรีในพระราชพิธี คือ การบรรเลงประกอบกิริยาอาการของผู้เข้าร่วมพิธีในลักษณะต่างๆ โดยประโคม เป็นสัญญาณในแต่ละล�าดับขั้นตอนของพระราชพิธีนั้นๆ เรียกว่า กาลเทศวิภาค (Demarcation) เปน็การแสดงล�าดบัเหตกุารณใ์หผ้เู้ขา้รว่มพธิทีราบวา่กจิกรรมตา่งๆ ได้ด�าเนินการถึงขั้นตอนใด อีกทั้งความหมายของเพลงที่บรรเลงจะสอดคล้องกับ กจิกรรมทท่ี�าในขณะนน้ัดว้ย และการประโคมดงักลา่ว ยงัชว่ยกระตนุ้ใหผ้เู้ขา้รว่มพธิี บงัเกดิความรสู้กึตนื่เตน้ บนัดาลใจใหเ้กดิจนิตนาการสมมตุริว่มกนัในพธิอีกีประการหนึ่ง

References

คณะกรรมการจัดงานดนตรีไทยอุดมศึกษา ครั้งที่ 37. 2552. ดนตรีพิธีกรรม: เอกสำรประกอบกำรประชุมทำงวิชำกำร เนื่องในโอกำสครบรอบ 75 ป ีมหำวทิยำลยัธรรมศำสตร ์และกำรจดังำนดนตรไีทยอดุมศกึษำ ครั้งที่ 37 วันที่ 29 ตุลำคม 2552 ณ มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ศนูยร์งัสติ. กรงุเทพฯ: บรษิทั เทค็โปรโมชน่ั แอนด ์แอดเวอรไ์ทซง่ิ จ�ากดั. คณะผดู้�าเนนิงานโครงการปรญิญานพินธท์างดรุยิางคศลิปไ์ทย. 2531. สจูบิตัร กำรแสดงผลงำนโครงกำรปรญิญำนพินธข์องนสิติ สำขำวชิำดรุยิำงค์ ไทย ภำควิชำดุริยำงคศิลป์ คณะศิลปกรรมศำสตร์จุฬำลงกรณ์ มหำวทิยำลยั เรอื่ง ดนตรใีนพระรำชพธิ ีวนัท ี่ 24 มนีำคม 2531. (ม.ป.ท.). คณะผดู้�าเนนิงานโครงการปรญิญานพินธท์างดรุยิางคศลิปไ์ทย. 2542. ดนตรี พระรำชพิธี ในพระรำชประวัติ พระบำทสมเด็จพระเจ้ำอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช. ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต, สาขาวิชาดุริยางค์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (ม.ป.ท.). ชัยญะ หินอ่อน. 2549. ดนตรีในพระรำชพิธีสมโภชเดือนและขึ้นพระอู่. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาดุริยางค์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ธีรยุทธ ยวงศรี. 2540. กำรดนตรี กำรขับ กำรฟ้อน ล้ำนนำ. พิมพ์ครั้งที่ 1. เชียงใหม่: โรงพิมพ์มิ่งเมืองนวรัตน์. บญุตา เขยีนทองกลุ. 2548. ดนตรใีนพระรำชพธิี. กรงุเทพฯ : ส�านกัการสงัคตี กรมศิลปากร. ปรชีา ชา้งขวญัยนื และสมภาร พรมทา. 2552. มนษุยก์บัศำสนำ. พมิพค์รงั้ท ี่4. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
213
ศิลปกรรมสาร
พชิติ ชยัเสร.ี 2540. เอกสำรคำ�สอนรำยวชิำ 3503366 พทุธธรรมในดนตรไีทย. (ม.ป.ท.). มนตร ีตราโมท . 2538. ดนตรไีทย ของมนตร ีตรำโมท อนสุรณง์ำนพระรำชทำน เพลิงศพนำยมนตรี ตรำโมท. กรุงเทพฯ: บริษัท โรงพิมพ์ไทยวัฒนา พานิช จ�ากัด. สุจิตต์ วงษ์เทศ. 2551. ร้องร�ำท�ำเพลง: ดนตรีและนำฏศิลป์ชำวสยำม. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เรือนแก้วการพิมพ์. อัจฉริยา สงทอง. 2548. แบบแผนกำรบรรเลงดนตรีไทยในพระรำชพิธี. วิทยานิพนธ์ศิลปกรรมศาสตรบัณฑิต. สาขาวิชาดุริยางค์ไทย คณะศิลปกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. อนุมานราชธน, พระยา. 2533. งำนนิพนธ์ชุดสมบูรณ์ของศำสตรำจำรย์ พระยำอนุมำนรำชธน หมวดศิลปะและกำรบันเทิง เล่ม 1 เร่ืองรวมเร่ืองเก่ียวกับศิลปะกำรบันเทิง. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ คุรุสภาลาดพร้าว. เอนก นาวิกมูล. 2550. ศิลปวัฒนธรรม ฉบับพิเศษ เพลงนอกศตวรรษ. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์มติชนปากเกร็ด. เว็บไซต์ “ดนตรพีน้ืบา้นประจ�าชาตไิทย”. [ออนไลน]์. เขา้ถงึไดจ้าก: http://www.dsc. ac.th/inweb/student_job/art411/sheet1.htm. 26 เมษายน 2558. ณรงคช์ยั ปฏิกรชัต.์ “นยัส�าคญัของเพลงพธิกีรรม”. [ออนไลน]์. เขา้ถงึไดจ้าก: http://www.smusichome.com/index.php?lay=show&ac= article&Id=538675604&Ntype=4. 27 เมษายน 2558

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์