กระบวนการ สร้างงานศิลปหัตถกรรม กับฝ้ายทอมือ “แสงดา บันสิทธิ์”

ผู้แต่ง

  • อาชัญ นักสอน

คำสำคัญ:

ศิลปะ ศิลปหัตถกรรม ผ้าฝ้ายทอมือ ย้อมสีธรรมชาติ แรงบันดาลใจ ความยั่งยืน

บทคัดย่อ

ความหมายของศิลปหัตถกรรมบ่งบอกถึงการผสมผสานคุณสมบัติท่ี ทรงคณุคา่ของงาน สองประเภท คอืศลิปะ และงานหตัถกรรม ในบทความนไ้ีดอ้ธบิาย ถึงความหมายเชิงนามธรรมของทั้งศิลปะ ซึ่งเกี่ยวข้องกับอารมณ์และความงามกับ งานหตัถกรรมซงึ่เกยี่วขอ้งกบัจติวญิญาณทถี่า่ยทอดผา่นความประณตี จากการท�ามอื ที่ได้ซึมซับจากธรรมชาติแวดล้อมและวัฒนธรรมท้องถิ่น รวมถึงกระบวนการ สร้างสรรค์งานหัตถกรรมที่ขัดเกลาผลงาน จนเรียกได้ว่า เป็นงานศิลปหัตถกรรมที่ ทรงคุณค่า เนื้อหาหลักของบทความนี้ ผู้เขียนได้ยกกรณีศึกษาจากศิลปินแห่งชาติ แสงดา บนัสทิธ ์ิสาขาการทอผา้ ผซู้ง่ึมผีลงานการทอผา้ฝา้ยทแ่ีตกตา่งจากชา่งทอผา้ ทั่วไป บทความได้วิเคราะห์ถึงชีวิตของท่าน สภาพแวดล้อม กระบวนการท�างาน วธิคีดิ และแรงบนัดาลใจทส่ีง่ผลใหง้านศลิปหตัถกรรมทท่ีรงคณุคา่นน้ัอบุตัขิน้ึมาได้ กระบวนการในการสรา้งสรรคผ์ลงานศลิปหตัถกรรมน ้ีไมเ่พยีงแตศ่ลิปนิเองทไ่ีดร้บั ความสุข ความพึงพอใจในการสร้างสรรค์ผลงาน แต่ยังส่งผลกระทบต่อวิถีชีวิตของ คนในชมุชน สง่ผลกระทบตอ่เศรษฐกจิชมุชน สง่ผลกระทบตอ่การอนรุกัษส์ภาพแวดลอ้ม และคุณภาพชีวิต

References

กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม. (2537). รูปแบบผลิตภัณฑ์หัตถกรรมไทย. กรุงเทพฯ: มูลนิธิช่างหัตถศิลป์ไทย. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. สยำมรัฐสัปดำห์วิจำรณ์ ปีที่ 33 ฉบับที่ 22 วันอาทิตย์ที่ 16-22 พ.ย. 2529 วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2535). ศิลปหัตถกรรมพื้นบ้ำน. กรุงเทพฯ: บริษัทอมรินทร์ พริ้นติ้งกรุ๊พ จ�ากัด. วิบูลย์ ลี้สุวรรณ. (2549). ศิลปวิชำกำร. กรุงเทพฯ: มูลนิธิศาสตราจารย์ ศิลป์ พีระศรีอนุสรณ์. เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์, “บ้านไร่ไผ่งามของป้าแสงดา.” มติชนสุดสัปดำห์. วันอาทิตย์ที่ 5 กรกฎาคม 2530 ฉบับที่ 357 อ�านวย จั่นเงิน. (2536). แสงดำ บันสิทธิ์ ศิลปินแห่งชำติ สำขำทัศนศิลป์ (กำรทอผ้ำ) พุทธศักรำช 2529. กรุงเทพฯ: บ.อมรินทร์พริ้นติ้ง แอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด (มหาชน) อ�านวย จั่นเงิน. (2545). เพชรน�้ำเอกของวงกำรทอผ้ำแห่งล้ำนนำไทย. กรุงเทพฯ: อมรินทร์ปริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง จ�ากัด (มหาชน)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-03

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์