การศึกษาและพัฒนาแบบตัวพิมพ์มาตรฐาน ในรูปแบบเลขนศิลป์ล้านนา

ผู้แต่ง

  • รัชภูมิ ปัญส่งเสริม คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

การออกแบบ / ตวัพมิพ ์/ แบบตวัพมิพ ์/ รปูอกัษร / เลขนศลิปล์า้นนา

บทคัดย่อ

งานวิจัยเร่ืองน้ีเป็นงานวิจัยเพ่ือการออกแบบตัวพิมพ์ดิจิทัล จำานวน 8 รูปแบบตัวพิมพ์ (รวมตวัเอนแลว้เปน็ 16 รูปแบบ) ทมี่งุ่ตอบวตัถปุระสงค์ในสามประเดน็หลกัคอื (1) เพอื่ศึกษาและ พฒันาแบบตวัพมิพ์ในรปูแบบเลขนศลิปล์า้นนาใหม้มีาตรฐานทด่ี ี(2) เพอ่ืหาประสทิธภิาพของแบบ ตวัพมิพม์าตรฐานในรปูแบบเลขนศลิปล์า้นนาท่ีไดพ้ฒันาขน้ึ และ (3) เพอ่ืทดสอบคณุภาพของแบบ ตัวพิมพ์มาตรฐานในรูปแบบเลขนศิลป์ล้านนาที่ได้พัฒนาขึ้น วิธีการศึกษาและพัฒนาใช้วิธีการศึกษาจากเอกสารและศึกษาข้อมูลภาคสนามจากของจริง ตามสถานทตี่า่งๆ ในเขตจงัหวดั เชยีงใหม ่ลำาพนู และลำาปาง จากนนั้ทำาการสรปุขอ้มลูและวเิคราะห์ ข้อมูลเพื่อสรุปเป็นแนวทางในการออกแบบรูปอักษรสำาหรับตัวพิมพ์ ขั้นตอนต่อไปคือการปฏิบัติ การออกแบบรูปอักษรและพัฒนาให้เป็นตัวพิมพ์ดิจิทัลตามแนวทางข้างต้น เมื่อได้ผลงานตัวพิมพ์ ดจิทิลัจงึไดท้ำาการทดสอบทางการพมิพด์ว้ยชดุทดสอบตวัพมิพข์องชมรมจดัพมิพอ์เิลก็ทรอนกิไทย และปรับปรุงให้สมบูรณ์ ขั้นตอนต่อมาเป็นการนำาแบบตัวพิมพ์ที่ได้พัฒนาขึ้น 8 รูปแบบเสนอต่อ ผเู้ชย่ีวชาญจำานวน 6 ทา่น เพอ่ืประเมนิประสทิธภิาพของแบบตวัพมิพแ์ละใหข้อ้เสนอแนะ ผลท่ีได้ นำาไปทำาการปรบัปรงุแบบตวัพมิพ์ใหด้ขีน้ึ ขน้ัตอนสดุทา้ยเปน็การทดสอบคณุภาพของแบบตวัพมิพ์ โดยใช้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้อ่านจำานวน 330 คน เพื่อศึกษาปรากฏการณ์ของคุณภาพของรูปอักษร ที่ได้พัฒนาขึ้นเพื่อเป็นข้อสังเกตในการนำาแบบตัวพิมพ์ไปใช้งานต่อไป ผลการศกึษาทสี่าำคญัประกอบดว้ยประเดน็สาำคญัดงัน ี้(1) แนวทางการออกแบบชดุตวัอกัษร ไดแ้นวทาง 3 กลมุ่คอื กลมุ่แนวทางจากอกัษรธรรมลา้นนาทจี่ารบนใบลาน, กลมุ่แนวทางจากอกัษร ธรรมล้านนาที่เขียนบนสมุดไทย / ปั๊บสา และกลุ่มแนวทางจากอักษรธรรมล้านนาที่จารึกบนศิลา โดยแต่ละแบบได้ออกแบบให้มีรูปแบบตัวพิมพ์ (typestyle) ในชุดครอบครัว (type family) ด้วย(2) ผลการประเมนิประสทิธภิาพโดยผเู้ชย่ีวชาญดา้นการออกแบบตวัพมิพอ์ยู่ในระดบัทด่ีมีาก และ ผลการประเมนิประสทิธภิาพโดยผเู้ชย่ีวชาญดา้นเลขนศลิปล์า้นนา (อกัษรธรรมลา้นนา) อยู่ในระดบั ทด่ีมีาก (3) การทดสอบคณุภาพของแบบตวัพมิพ ์พบรปูอกัษรทอ่ีา่นยากมคีวามชดัเจนตำ่าทส่ีาำคญั 2 ตัว คือ ตัว o (o) และ ตัวเลข ๖ (๖)

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์