คุณลักษณ์พื้นผิว (มิใช่แค่ผิวเผิน) ในงานสร้างสรรค์เซรามิกส์

ผู้แต่ง

  • วีระจักร์ สุเอียนทรเมธี คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

บทคัดย่อ

ในการสรา้งสรรคง์านเซรามกิสน์นั้ ทศันมลูฐาน (ทศันธาต)ุ (Visual Element) ที่โดดเดน่  กค็อื รปูทรง (Form) กเ็พราะวา่ มนัเปน็งานสามมติทิก่ีนิระวางในบรเิวณวา่ง (Space) และสว่นใหญ่  เราก็ปฏิบัติกับรูปทรงโดยกรรมวิธีต่างๆ นานา ด้วยกรรมวิธีทางประติมากรรมไม่มากก็น้อย  อาจจ�าเพาะวิธีใดวิธีหนึ่ง หรือไม่ก็ผสมผสานกันไป ไม่ว่าจะเป็นกระบวนการเพิ่ม (Additive) เช่น  การปน้ั กระบวนการลบหรอืเอาออก (Subtractive) เชน่ การแกะสลกั ขดูขดีออก กระบวนการแทนท่ี  (Substitute) คอืการหลอ่น้�าดนิ (Slip Casting) โดยใช้แม่พิมพ์ ซ่ึงเป็นท่ีนิยมกันมากในกรรมวิธี  ทางเซรามิกส์และกรรมวิธีทางรูปทรงเหล่านี้ ยังสัมพันธ์กับสถานะของเนื้อวัสดุหรือเนื้อดินก็ว่าได้  ซง่ึกย็งัมมีากมายแตกตา่งกนัไปอกี ไมว่า่จะเปน็เนอ้ืดนิ (Clay Body) มคีวามเหนยีวทป่ีน้ัได ้ผงดนิ  (Granulate) ที่เกือบแห้ง หรือน�้าดินข้น (Slip) ที่เหลวและไหลตัวได้      ยงัมทีศันมลูฐาน อยอู่กีประการหนง่ึทเ่ีรามกัจะปฏบิตัหิรอืจดัการกบัมนัอยบู่อ่ยกบัเนอ้ืดนิ หรอืรปูทรงนน้ัๆ ดว้ยเรยีกกนัวา่ ตกแตง่มนับา้ง ท�าใหน้า่ดบูา้ง เกดิเปน็ลกัษณะพน้ืผวิ (Texture)  ลักษณะพื้นผิว เป็นทัศนมูลฐานที่สร้างคุณค่าทางการมองเห็นและการสัมผัสของชิ้นงานเซรามิกส์  ได้ชัดเจน เพราะเนื่องมาจากวัสดุที่ก่อตัวเป็นรูปทรงนั่นเอง ซึ่งเกิดจากเนื้อดินหรือจากผิวเคลือบ ก็ได้ ซ่ึงก็ให้ผลท้ังสัมผัสทางการมอง (ว่าเป็นสีสันอะไร มีความมันวาวหรือด้าน) และสัมผัสจาก การจับต้อง (ว่าผิวเรียบ ขรุขระ หยาบ ลื่นหรือฝืด) ดังนั้นถ้าจะกล่าวว่า เมื่อเกิดมีรูปทรงก็จะมี ลักษณะพื้นผิวด้วยเสมอก็ไม่ผิดนัก ลักษณะพื้นผิวจะมีอยู่ด้วยกันสองลักษณะคือ      1. พื้นผิวที่เราสัมผัสได้โดยตรงจับต้องได้ (Tactile Texture) ลักษณะพื้นผิวที่จับต้องได้  ก็คือ ลักษณะพื้นผิวจริง (Actual Texture) ของวัสดุ  กล่าวง่ายๆ ก็คือ พื้นผิวที่เราจับต้องแล้วรู้สึก ทางกายภาพสัมผัสได้ตามลักษณะของวัตถุหรือพื้นผิวนั้นๆ ได้ชัด เช่น หยาบ ขรุขระ สาก เรียบ หรือนิ่มนวล      2. พื้นผิวที่เรารู้สึกได้จากการมอง หรือลักษณะพื้นผิวเชิงการเห็น (Visual Texture)  (สุชาติ สุทธิ: 2535, 97) ลักษณะพื้นผิวเชิงการเห็น เป็นลักษณะพื้นผิวลวงตาหรือพื้นผิวเสมือน  (Simulated or Virtual Texture) ลกัษณะพน้ืผวิแบบน้ี จะพบเหน็ไดม้ากในงานจติรกรรม เราจะรสู้กึ  หยาบ ขรขุระหรอืเรยีบเนยีน จากการมองทผี่สู้รา้งงานไดล้วงตาเอาไว ้เปน็พนื้ผวิที่ไมไ่ดเ้ปน็ไปจรงิ อย่างท่ีปรากฏด้วยการเห็นทางสายตา ในขณะท่ีวัสดุท่ีใช้สร้างสรรค์อาจมีพ้ืนผิวจริงอีกแบบหน่ึงก็ได ้เชน่ ภาพวาดโขดหนิทด่ีรูสู้กึวา่ขรขุระหรอืหยาบ แตพ่น้ืผวิจรงิของวสัดงุานกค็อื เนอ้ืกระดาษ  หรือแคนวาสนั่นเอง  

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์