การศึกษาและพัฒนารูปแบบอัตลักษณ์ล้านนา เพื่อใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ล้านนา

ผู้แต่ง

  • ศรีชนา เจริญเนตร คณะศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์ล้านนา/บรรจุภัณฑ์ผลิตภัณฑ์ล้านนา

บทคัดย่อ

การศึกษาและพัฒนารูปแบบอัตลักษณ์ล้านนาเพื่อใช้ในการออกแบบบรรจุภัณฑ์ของ ผลิตภัณฑ์ล้านนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบอัตลักษณ์ล้านนาในการนำมาประยุกต์ใช้ ในการออกแบบกราฟกิ และพฒันารปูแบบอตัลกัษณล์า้นนาประยกุต์ใชส้ำหรบัการออกแบบบรรจภุณัฑ์ โดยประเมินความคิดเห็นของผู้บริโภคที่มีต่อบรรจุภัณฑ์ที่มีการนำรูปแบบอัตลักษณ์ล้านนามาใช้ ในการออกแบบ ซึ่งใช้กลุ่มตัวอย่างผู้ผลิตผลิตภัณฑ์ชุมชนระดับ 2 ดาว จำนวน 5 กลุ่มผลิตภัณฑ์ ได้แก่ (1) กลุ่มผลิตภัณฑ์ลูกประคบสมุนไพรบ้านโป่งร้อน ต.ใหม่พัฒนา อ.เกาะคา จ.ลำปาง (2) กลุ่มเจียระไนแก้วโป่งข่าม (ผลิตภัณฑ์เครื่องประดับ) นาบ้านไร่ ต.แม่ถอด อ.เถิน จ.ลำปาง (3) กลุ่มผลิตภัณฑ์รถม้าจำลอง (นายอาดุลย์ ลามา) ต.เกาะคา อ.เกาะคา จ.ลำปาง (4) กลุ่ม ผลติภณัฑว์สิาหกจิชมุชนกลมุ่แปรรปูกลว้ยบา้นสามขา ผลติภณัฑก์ลว้ยอบนมุ่ลนิ้ ต.หวัเสอื อ.แมท่ะ จ.ลำปาง (5) กลมุ่ผลติภณัฑผ์า้ปกัประดษิฐเ์คหะภณัฑบ์า้นน้ำโทง้ ต.บอ่แฮว้ อ.เมอืง จ.ลำปาง นำ ผลการประเมนิมาวเิคราะห์โดยใชส้ถติ ิหาคา่ความถ ี่คา่รอ้ยละ และคา่เฉลยี่ ในดา้นความเหมาะสม ในการนำรูปแบบอัตลักษณ์ล้านนามาประยุกต์ใช้ในการออกแบบ การประเมินแบ่งเป็น 2 ขั้นตอน คอื ขน้ัตอนแรกใหผ้ทู้รงคณุวฒุปิระเมนิรปูแบบอตัลกัษณล์า้นนาทน่ีำมาประยกุต์ใชบ้นบรรจภุณัฑ ์ โดยแบ่งลวดลายเป็น 4 กลุ่ม ได้แก่ (1) กลุ่มลวดลายล้านนาที่พบในงานประติมากรรม (2)กลุ่มลวดลายล้านนาที่พบในงานลายคำ (3) กลุ่มลวดลายล้านนาที่พบในงานจิตรกรรม (4) กลมุ่ลวดลายลา้นนาทพ่ีบในงานหตัถกรรม พบวา่กลมุ่ลวดลายทพ่ีบในงานจติรกรรมลา้นนาเมอ่ืน�ามา ประยุกต์ใช้ในการออกแบบกราฟิกมีลักษณะเหมาะสมมากที่สุด สื่อถึงความเป็นอัตลักษณ์ล้านนา ได้มากที่สุด มีคะแนนประเมินเฉลี่ยสูงสุด คือ 4.41 จากนั้นขั้นตอนที่สอง นำลวดลายทั้ง 4 กลุ่ม ไปใช้ในการออกแบบบนบรรจุภัณฑ์ของผลิตภัณฑ์ชุมชน 5 กลุ่มผลิตภัณฑ์เพื่อหาความพึงพอใจ จากบุคคลทั่วไป โดยแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ ส่วนแรก เป็นเรื่องความพึงพอใจในด้านโครงสร้าง บรรจุภัณฑ์ พบว่าบุคคลทั่วไปให้คะแนนความพึงพอใจในทุกองค์ประกอบของบรรจุภัณฑ์ มากกว่า 4 คะแนนซึ่งเป็นระดับดี โดยในด้านรูปทรงของบรรจุภัณฑ์มีขนาดพอเหมาะกับ การใช้งานกับการจับถือในทุกๆ ผลิตภัณฑ์มากท่ีสุด มีคะแนนเฉล่ีย 4.45 ส่วนบรรจุภัณฑ์ ทอ่ีอกแบบใหผ้ลติภณัฑก์ลว้ยอบตน้น้ำมคีวามเหมาะสมในดา้นโครงสรา้งของบรรจภุณัฑม์ากทส่ีดุ มีคะแนนเฉลี่ย 4.40 ในส่วนที่ 2 เป็นเรื่องความพึงพอใจในด้านกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ โดยเฉลี่ย มีความพึงพอใจด้านภาพประกอบที่มีการใช้งานที่ส่งเสริมผลิตภัณฑ์ได้อย่างเหมาะสมมากที่สุด มีคะแนนเฉลี่ย 4.53 ผลิตภัณฑ์ลูกประคบโป่งร้อนเป็นผลิตภัณฑ์ที่ได้รับความพึงพอใจ ในการประเมินด้านกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์มากที่สุด คือ 4.40 และจากผลการประเมินด้านกราฟิก บนบรรจุภัณฑ์ของผู้เช่ียวชาญและแบบสอบถามพบว่าได้ผลการประเมินท่ีสอดคล้องกัน คือ มีความพึงพอใจด้านกราฟิกบนบรรจุภัณฑ์ของลูกประคบโป่งร้อนมากที่สุด เนื่องจากมีการใช้ ลวดลายในกลมุ่ลวดลายทพ่ีบในงานจติรกรรมลา้นนา ซง่ึในทน่ี้ีใชล้วดลายบคุคลซง่ึมลีกัษณะทว่งทา่ และการแต่งกายที่ชัดเจน แสดงออกถึงความเป็นล้านนา มีการวางองค์ประกอบบนบรรจุภัณฑ์ เหมาะสม ลวดลายมีการส่งเสริมผลิตภัณฑ์และการใช้ตัวอักษรมีความเหมาะสมกลมกลืนกัน เป็นอย่างดี

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-01-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัยสร้างสรรค์