สาธารณศิลป์เพื่อนิเวศสุนทรีย์

ผู้แต่ง

  • วิจิตร อภิชาติเกรียงไกร ศิลปินอิสระ

คำสำคัญ:

สาธารณศิลป์เพื่อนิเวศสุนทรีย์ สุนทรียเชิงสัมพันธ์ สิ่งแวดล้อม ศิลปะ

บทคัดย่อ

แนวคิด สาธาณศิลป์เพื่อนิเวศสุนทรีย์ คือแนวคิดที่เป็นผลจากการสร้างสรรค์ศิลปะ และการวิจัยเชิงสร้างสรรค์ ของศิลปิน (วิจิตร อภิชาติเกรียงไกร) ที่สนใจการสร้างสรรค์ผลงานเพื่อสาธาณะชน และการรักษานิเวศน์แวดล้อม (มีพัฒนาการในช่วง พุทธศักราช 2539-ปัจจุบัน) โดยกระบวนการสร้างสรรค์ศิลปะจะบูรณาการศาสตร์ต่างๆ มาใช้ในการอ้างอิง ขณะเดียวกันก็บูรณาการแนวความคิด องค์ความรู้เข้ามาเป็นเครื่องมือในการดำเนินงานโดยใช้กระบวนการมีส่วนร่วมในการประเมินผล และผลงานส่วนใหญของแนวคิด สาธาณศิลป์เพื่อนิเวศสุนทรีย์นั้นจะสร้างสรรค์ผ่านรูปแบบของโครงการศิลปะ เนื่องจากมีผู้เกี่ยวข้อง และมีส่วนร่วมหลายฝ่าย การมีแผนงานที่ดีจึงเป็นปัจจัยสำคัญ หลักสำคัญของแนวความคิดนี้คือการนำกระบวนการทางศิลปะเข้าไปพํฒนาระบบนิเวศน์ ให้เกิดสภาพแวดล้อมที่สมดุล ทั้งด้วยระบบนิเวศน์ และสุนทรียภาพ ทั้งหมดมีเป้าหมายเพื่อประโยชน์สาธารณะ และสังคม

บทความนี้ กล่าวถึงโครงสร้างของแนวคิด และการบูรณาการ ที่ศิลปินใช้ในการสร้างสรรค์ และตอนท้ายได้แสดงตัวอย่างโครงการที่เคยสร้างสรรค์ ไว้เป็นกรณีศึกษา

References

ภาษาอังกฤษ
Atkins. (1993). Art Spoke. New York : Abbeville
Brown, Andrew. (2009). Art & Ecology Now. London: Themes & Hudson.
Nicolas, Bourriaud. (2002). Relational Aesthetics. France : Les Presses Du Ríeel Robert,
ภาษาไทย
สุธาสินี ผลวัฒนะ บรรณาธิการ (2535) วารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับ 100 ปี ศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรี กรุงเทพฯ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
นิพนธ์ ขำวิไล (2551) อาจารย์ศิลป์กับลูกศิษย์ พิมพ์ครังที่ 3 กรุงเทพฯ สำนักพิมพ์สำนักวิจัยศิลป์ พีระศรี.
วิบูลย์ ลี้สุวรรณ บรรณาธิการ (2549) ศิลปวิชาการ 2 : ศิลปะคืออะไร กรุงเทพฯ มูลนิธิศาสตราจารย์ศิลป์ พีระศรีอนุสรณ์.
แมททิว แกล (2557) ดาดา แอนด์ เซอร์เรียลิสม์ แปลจาก Dada & Surrealism แปลโดย ปราบดา ยุ่น .กรุงเทพฯ เดอะเกรทไฟอาร์ท.
สุธี คุณาวิชยานนท์ (2546) จากสยามเก่าสู่ไทยใหม่ ; ว่าด้วยความพลิกผันของศิลปะจากประเพณีสู่สมัยใหม่ กรุงเทพฯ บ้านหัวแหลม
จุนอิชิโร ทานิซากิ (2558) เยิรเงาสลัว แปลจาก in Praise of shadow แปลโดย สุวรรณา วงศ์ไวศยวรรณ กรุงเทพฯ โอเพ่นบุ๊คส์
คาร์ล ออนอเร (2559) เร็วไม่ว่า ช้าให้เป็น แปลจาก in praise of slowness แปลโดย กรรณิการ์ พรมเสาร์ กรุงเทพฯ โอเพ่นบุ๊คส์
สเตฟาน ฮาร์ดิ้ง. กาย่า โลกที่มีชีวิต วิทยาศาสตร์และการหยั่งรู้. แปลโดย เขมลักขณ์ ดีประวัติ. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา. 2556.
เดวิด โบห์ม (2554) สุนทรียสนทนา แปลจาก on Dialogue แปลโดย เพชรรัตน์ พงษ์เจริญสุข กรุงเทพฯ สวนเงินมีมา
กำจร สุนพงษ์ศรี. (2555). สุนทรียศาสตร์ : หลักปรัชญาศิลปะ ทฤษฎีทัศนศิลป์ ศิลปะวิจารณ์. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฆวนนิต้า บราวน์ และ เดวิด ไอแซคส์. (2552). แปลจาก The World Cafe: Shaping Our Futures Though Conversations That Matter. เดอะ เวิลด์คาเฟ่ สภากาแฟ สนทนาเพื่อก่อปัญญา สร้างอนาคต. แปลโดย เจริญเกียรติ ธนสุขถาวร และ กฤตศรี สามะพุทธิ. กรุงเทพฯ: สวนเงินมีมา.
นพพร ประชากุล. โรล็องด์ บาร์ตส์ กับสัญสาสตร์วรรณกรรม(บทความประกอบ). (2555). มายาคติ. กรุงเทพฯ: คบไฟ.
เซอร์ โธมัส มอร์ (2557) ยูโทเปีย แปลจาก Utopia แปลโดย สมบัติ จันทรวงศ์ กรุงเทพฯ สมมุติ
มาซาโนบุ ฟูกูโอกะ. (2553). ปฏิวัติยุคสมัยด้วยฟางเส้นเดียว ทางออกของเกษตรกรรมและอารยธรรมมนุษย์. พิมพ์ครั้งที่ 11. แปลจาก The One-Straw Revolution. แปลโดย รสนา โตสิตระกูล กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.
มิชาเอล ไลลัค. แลนด์อาร์ต. แปลโดย ออตโต ฟอน โกลบ. อฌิมา ทัศจันทร์ กรุงเทพฯ: เดอะเกรทไฟอาร์ท. 2552.
เยาวนุช เวศน์ภาดา. (2543). ข้าววัฒนธรรมแห่งชีวิต. พิมพ์ครั้งที่ 2 กรุงเทพฯ: แปลนโมทีฟ
สุวรรณ ลัยมณี. 2538). ศิลปะแห่งความเป็นไทและไทยแบบไม่มีการปรุงแต่ง. Art record 13, 1 (มกราคม): 6-12.
โสฬส ศิริไสย์. (2558). ขวัญข้าว. นครปฐม: คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
เอนก นาวิกมูล. (2527). เพลงนอกศตวรรษ. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์เมืองโบราณ.
. (2536). เที่ยวทุ่งเมื่อหน้าน้ำ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สารคดี.
อรรฆย์ ฟองสมุทร. (2544). ศิลปะชุมชน เอกสารประกอบโครงการศิลปกรรม “เสียงสะท้อน 476 กิโลเมตร. กรุงเทพฯ: อุษาคเนย์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-25

ฉบับ

บท

บทความทางวิชาการ