การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจอุตสาหกรรม

ผู้แต่ง

  • รุ่งโรจน์ สุบรรณจุ้ย สาขาวิชาคอมพิวเตอร์ธุรกิจ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน, การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์องค์ประกอบการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของพนักงาน ระดับปฏิบัติการในธุรกิจอุตสาหกรรม ตามแนวคิดการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของทอร์กซาเดท์และ คอฟเทอร์รอส (Torkzadeh & Koufteros, 2003) และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลองค์ประกอบ การรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์กับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างเป็นพนักงานระดับปฏิบัติการที่กำลังปฏิบัติงาน อยู่ในธุรกิจอุตสาหกรรม จำนวน 500 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถามเรื่องการรับรู้ความสามารถของตนเอง ด้านคอมพิวเตอร์ การวิเคราะห์ข้อมูลแบ่งออกเป็นการวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสำรวจ สกัดองค์ประกอบด้วยวิธีวิเคราะห์ องค์ประกอบหลัก และหมุนแกนองค์ประกอบด้วยวิธีแวร์ริแมกซ์ โดยใช้โปรแกรม SPSS และวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน อันดับสอง เพื่อตรวจสอบความตรงเชิงโครงสร้างของโมเดลองค์ประกอบการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ โดยใช้โปรแกรม AMOS ผลการวิจัยทำให้พนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจอุตสาหกรรมทราบระดับความสามารถของตนเอง ในด้านคอมพิวเตอร์ทั้ง 4 ด้าน คือ ทักษะเบื้องต้น ทักษะด้านแฟ้มข้อมูลและซอฟต์แวร์ ทักษะขั้นสูง และทักษะด้านอินเทอร์เน็ต เพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาหรือส่งเสริมการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของพนักงานระดับปฏิบัติการในธุรกิจ อุตสาหกรรม

References

กรรณิการ์ จิตต์บรรเทา. (2539). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้ความสามารถของตนเองและความคาดหวังในผลการเรียนภาษาอังกฤษกับความสามารถในการอ่านเพื่อความเข้าใจภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กรุงเทพมหานคร.
วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
กัญญาวดี แสงงาม. (2543). การศึกษาการรับรู้ความสามารถของตนเองในการปฏิบัติงานแนะแนวของครูแนะแนวในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดกรมสามัญศึกษา ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการแนะแนว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
กอบเกียรติ สระอุบล. (2545). คู่มือการใช้คอมพิวเตอร์ฉบับภาคปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร : บี อี แอนด์ ซี.
ครรชิต มาลัยวงศ์ และวิชิต ปุณวัตร์. (2532). เทคนิคการออกแบบโปรแกรม. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
คอยจิตร์ นครราช. (2548). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการรับรู้ความสามารถของตนเองด้านคอมพิวเตอร์ของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 ในมหาวิทยาลัยของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิจัยการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
จิราภรณ์ กุณสิทธิ์. (2541). การทำนายผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์ด้วยตัวแปรด้านการกำกับตนเองในการเรียนการรับรู้ความสามารถของตนเองทางคณิตศาสตร์ ทัศนคติต่อวิชาคณิตศาสตร์ และแรงจูงใจใฝ่สัมฤทธิ์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทับทิม ปัตตะพงศ์. (2545). การรับรู้ประโยชน์ การรับรู้อุปสรรค การรับรู้ความสามารถของตนเองและพฤติกรรมส่งเสริมสุขภาพในการควบคุมน้ำหนักตัวของวัยรุ่นตอนกลางในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการพยาบาลแม่และเด็ก บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.
ทยาพร ร่มโพธิ์. (2545). การศึกษาสภาพปัจจุบันและความคาดหวังเกี่ยวกับการใช้คอมพิวเตอร์ในการเรียนการสอนของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขาคอมพิวเตอร์ธุรกิจในวิทยาลัยพณิชยการ สังกัดกรมอาชีวศึกษาเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ธนัญชัย อัศวมงคล. (2544). การลงทุนโดยตรงจากต่างประเทศในอุตสาหกรรมซอฟต์แวร์. วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
นิสิต บุญสิทธิ์ไชยชนะ. (2543). การพัฒนาการรับรู้ความสามารถของตนเองที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการไม่เสพย์เฮโรอีนซ้ำของผู้เข้ารับการบำบัด ขั้นตอนการถอนยาพิษของคลินิกยาเสพติดในโรงพยาบาลของรัฐ. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ประยุกต์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
ปณิตา นิรมล. (2546). การพัฒนาโมเดลความสัมพันธ์เชิงสาเหตุการกำกับตนเองในการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีวิจัยการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
พจนารถ ทองคำเจริญ. (2539). สภาพความต้องการและปัญหาการใช้อินเทอร์เน็ตในการเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีและการสื่อสารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พาณี ขอสุข. (2542). ผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวคิดพิจารณาความเป็นจริงต่อการเพิ่มการรับรู้ความสามารถของตนในการเรียนรู้การกำกับตนเองของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่มีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนต่ำ.
วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการปรึกษา บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เพ็ญนภา จวนชัยนาท. (2541). การศึกษาสภาวะการใช้และการส่งเสริมการใช้ข้อสนเทศจากระบบอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาในสถาบันอุดมศึกษา: กรณีศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
ยุทธ ไกยวรรณ์. (2546). การวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้างด้วย Amos. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รดีวัลณ์ พึ่งสาย. (2545). องค์ประกอบที่มีความสัมพันธ์ต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาสาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วรรณวิภา จำเริญดารารัศมี. (2535). วิทยาการคอมพิวเตอร์เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
วัชราภรณ์ สุริยาภิวัฒน์. (2543). คอมพิวเตอร์เบื้องต้น และเทคนิคการเขียนโปรแกรม. พิมพ์ครั้งที่ 23. กรุงเทพมหานคร : ไทยเจริญการพิมพ์.
วัลลภา สบายยิ่ง, นวลฉวี ประเสริฐสุข และประสิทธ์ สาระสันต์. (2539). รายงานการวิจัยผลของการเตือนตนเองต่อการรับรู้ ความสามารถของตนที่ส่งผลต่อการเพิ่มประสิทธิภาพการเรียน. กรุงเทพมหานคร : สถาบันวิจัยพฤติกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒประสานมิตร.
วิทยา เรืองพรวิสุทธิ์. (2539). เรียนอินเทอร์เน็ตผ่านเวิลด์ไวด์เว็บอย่างง่าย. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
ศศิธร พรไพรินทร์. (2541). ผลของการใช้โปรแกรมเลิกเสพเฮโรอีน ตามทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองของแบนดูรา ที่มีต่อการรับรู้ความสามารถของตนเองในการเลิกเสพเฮโรอีน ความคาดหวังในผลของการเลิกเสพเฮโรอีนของ
ผู้เสพเฮโรอีนที่เข้ามารับการบำบัดรักษาในโรงพยาบาลธัญญารักษ์. วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาพัฒนาการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล. (2544). เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศ. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
สมจิตต์ เวียงเพิ่ม. (2544). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคลและการรับรู้ความสามารถของตนเองกับการปฏิบัติบทบาท ของครูพี่เลี้ยง ในแหล่งฝึกวิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญา
พยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการพยาบาล บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
เสรี ชัดแช้ม. (2547). “การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน.” วารสารวิจัยและวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยบูรพา. ปีที่ 2 ฉบับที่ 1 : 30.
อมลยา ศิริชนะ. (2542). ความรู้ ทัศนคติ และการใช้ประโยชน์จากอินเทอร์เน็ตของนักเรียนในโรงเรียนดีเด่นด้านการส่งเสริม กิจกรรมอินเทอร์เน็ต ตามโครงการเครือข่ายคอมพิวเตอร์เพื่อโรงเรียนไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตรพัฒนาการ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
อรพิน จิรวัฒนศิริ. (2541). การใช้ประโยชน์จากสื่ออินเทอร์เน็ตของนักศึกษาปริญญาโท ศึกษาเปรียบเทียบระหว่างมหาวิทยาลัยรัฐและเอกชนในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2543). การพัฒนาระบบสารสนเทศศูนย์ทดสอบวิชาการบนระบบเครือข่ายท้องถิ่นของวิทยาลัยลุ่มน้ำปิง. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
Bandura, A. (1997). Self-efficacy : Toward a unifying theory of behavioral change. Psychological Review. Vol. 84 : 19-215.
Bandura, A. (1982). Self-efficacy mechanism in human agency. American Psychologist. Vol. 3 No. 7 : 122-147.
Bandura, A., & Beyer, J. (1977). Cognitive processes editing behavioral change. Journal of Personality and Social Psychology. Vol. 35 : 125-139.
Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, NJ : Prentice-Hall.
Davaport, K. (1995). Factor related to the Tennessee K-12 educators implementation of the internet into class activities and professional development. Available from : http://etd-submit.etsu.edu/etd/theses/available/etd-0328102-093259/unrestricted/edwardsc041502.pdf
Doll, W.J., & Torkzadeh, G. (1989). “A discrepancy model of end-user computing involvement.” Management Science, Vol. 25 : 1551-1171.
Guskey, T.R., & Passaro, D. (1994). “Teacher efficacy: A study of construct dimension.” American Educational Research Journal. Vol. 31 : 627-643.
Harrison, A., & Rainer, R. (1992). “An examination of the factor structures and concurrent validitiesfor the computer attitude scale, the computer anxiety rating scale, and the computer self-efficacy scale.” Educational and Psychological Measurement. Vol. 52 No. 3 : 735.
Kim, J.O., & Mueller, C.W. (1978). Factor analysis: Statistical methods and practical issues. Beverley Hill: Sage Publication.
Schunk, D.H. (1983). “Developing children’s self-efficacy and skill: The roles of social comparative information and goal setting.” Contemporary Educational Psychology. Vol. 8 : 76-78.
Schunk, D.H. (1991). “Self-efficacy and academic motivation.” Educational Psychologist. Vol. 26 : 207-231.
Torkzadeh, G., & Koufteros, X. (1993). Computer user training and attitudes : A study business undergraduates. Behavior and Information Technology. Vol. 12 : 284-292.
Torkzadeh, G., & Koufteros, X. (1994). “Factorial validity of a computer self-efficacy scale and the impact of computer training.” Educational and Psychological Measurement. Vol. 54 : 813-821.
Torkzadeh, G., & Koufteros, X. (2003). “Confirmatory analysis of computer self-efficacy.” Structural Equation Modeling. Vol. 10 No. 2 : 263-275.
Torkzadeh. (2002). Effect of training on internet self-efficacy and computer user attitudes. Available from : http://www.ingentaconnect.com/content/els/07475632/2002/00018/00005/art0010
Wood, D., & Bandura, A. (1989). Practical biochemistry for colleges. Oxford : Pergamon Press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-06-26