การพัฒนาระบบสั่งอาหารออนไลน์

ผู้แต่ง

  • ธนะวัชร จริยะภูมิ สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
  • รุ่งโรจน์ สุบรรณจุ้ย สาขาวิชาบริหารธุรกิจอุตสาหกรรม คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

คำสำคัญ:

ระบบร้านอาหาร, สั่งอาหารออนไลน์การคำนวณเวลาในการจัดส่งอาหาร

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ออกแบบระบบสั่งอาหารออนไลน์ 2) พัฒนาระบบสั่งอาหาร ออนไลน์ โดยทำการออกแบบส่วนติดต่อกับผู้ใช้งานผ่านทาง Cloud 9 หรือ c9.io และพัฒนาเว็บไซต์ระบบสั่ง อาหารออนไลน์ด้วยภาษา PHP ร่วมกับฐานข้อมูล MySQL โดยใช้ทฤษฎีวงจรการพัฒนาระบบ (Systems Development Life Cycle : SDLC) มาใช้ในการออกแบบ และพัฒนา ผลการวิจัยพบว่า 1) ระบบสั่งอาหารออนไลน์ ประกอบด้วย 7 โมดูล ได้แก่ การสมัครสมาชิก การเข้าสู่ระบบ การเลือกโต๊ะ การสั่งอาหาร ห้องครัว การชำระเงิน และการจัดการรายการอาหาร 2) ระบบสั่งอาหารออนไลน์ เพิ่มระบบที่สามารถคำนวณเวลาจัดส่งอาหารแต่ละรายการให้ผู้ใช้งานได้ อำนวยความสะดวกให้กับร้านอาหาร และผู้ใช้งานได้ รวมถึงช่วยให้ร้านอาหารมีการทำงานอย่างเป็นระบบ และ 3) มีผลต่อประสิทธิภาพของระบบโดยภาพรวมอยู่ ในระดับสูง (x̅ = 4.00)

References

กฤษณ์ รุยาพร. (2550). [ออนไลน์]. องค์กรอัจฉริยะ Organization Intelligence. สืบค้นจาก http://www.e-apic.com/news_detail.php?id=37.
กฤษดา ชาญรบ. (2554). [ออนไลน์]. PHP คืออะไร ใช้ท ำอะไร. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/428663
ชาญชัย ศุภอรรถกร. (2558). สร้ำงเว็บแอปพลิเคชัน PHPMySQL ส ำหรับผู้เริ่มต้น. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : รีไวว่า.
ดวงพร ทรงวิศวะ. (2560.) [ออนไลน์]. กำรจัดบริกำรอำหำรในร้ำนอำหำรและภัตตำคำร. สืบค้นจาก http://humaneco.stou.ac.th/UploadedFile/71415-9.pdf
ธนัชพร จันทรสถาพร. (2556). เว็บไซต์ร้ำนอำหำรตำมสั่งออนไลน์. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
ธนะวัชร จริยะภูมิ. (2559). เอกสำรประกอบกำรเรียนวิชำกำรวิเครำะห์และออกแบบระบบ. สืบค้นจาก https://www. facebook.com/download/preview/1750288298523857.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2557). กำรวิจัยและวิเครำะห์ข้อมูลทำงสถิติด้วย SPSS และ AMOS. พิมพ์ครั้งที่ 15. กรุงเทพมหานคร : บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
บัญชา ปะสีละเตสัง. (2557). พัฒนำเว็บแอปพลิเคชันด้วย PHP ร่วมกับ MySQL และ jQuery. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
เอ็มเค อินเตอร์ฟู้ด. (2557). [ออนไลน์]. YAYOIMenu. สืบค้นจาก http://www.yayoirestaurants.com/th.
วสันต์ ฤกษ์องค์ดี. (2556). ระบบร้ำนอำหำรออนไลน์. ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ, คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วิชิต มรช. (2552). [ออนไลน์]. กำรออกแบบส่วนประสำน. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/43505.%20
วิทยา พรพัชรพงศ์. (2560). [ออนไลน์]. Business Intelligence คืออะไร. สืบค้นจาก https://www.gotoknow.org/posts/52660.
โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2553). กำรวิเครำะห์และออกแบบระบบ (ฉบับปรับปรุงเพิ่มเติม). พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร : ซีเอ็ดยูเคชั่น.
Bundit Nuntates. (2560). [ออนไลน์]. แก้ไข CODE ออนไลน์ด้วย C9.IO. สืบค้นจาก http://gunoob.com/แก้ไข-code-ออนไลน์ด้วย-c9-io/
Sumet Sawaidee. (2560). [ออนไลน์]. กำรจัดกำรข้อมูลและสำรสนเทศ. สืบค้นจาก http://sawaidee1.blogspot.com/

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2017-12-27