แนวทางการกำกับดูแลเนื้อหาของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

การกำกับดูแลเนื้อหา, สถานีโทรทัศน์ดิจิทัล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอแนวทางในการกำกับดูแลเนื้อหาของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย นำเสนอเกี่ยวกับแนวทางการกำกับดูแลเนื้อหาของกิจการโทรทัศน์ในประเทศไทย มีทั้งสิ้น 4 รูปแบบ ได้แก่ (1) การกำกับดูแลโดยตรงจากภาครัฐ (2) การกำกับดูแลร่วมกัน (3) การกำกับดูแลโดยเสมือน (4) การกำกับดูแลกันเอง ตลอดจน การสะท้อนปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการกำกับเนื้อหาของสถานีโทรทัศน์ดิจิทัลในประเทศไทย พร้อมแนวทางการแก้ไขปัญหาจากทุกภาคส่วน ได้แก่ หน่วยงานที่กำกับดูแลกิจการด้านสื่อวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัลโดยตรง รวมถึง การส่งเสริมให้มีการกำกับดูแลกันเองของกลุ่มผู้ประกอบการด้านสื่อวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัล ทั้งด้านภาพ เสียง และเนื้อหาที่ไม่เหมาะสมด้านพฤติกรรม เพศ ความรุนแรง และการใช้ภาษา รวมทั้งการให้ความรู้ การสร้างจิตสำนึกแก่ผู้ชมรายการโทรทัศน์ดิจิทัลทุกคน
ให้มีความรู้เท่าทันสื่อวิทยุโทรทัศน์ดิจิทัลให้มากขึ้น และให้ตระหนักถึงการเปิดรับข่าวสาร ความรู้ที่เป็นประโยชน์มากกว่าการเปิดรับสื่อเพื่อความบันเทิง

References

ข่าวสด. (2560, 20 มีนาคม 2560). [ออนไลน์]. เลิฟซีนกันนัว!! ‘วุ้นเส้น-พอลล่า’สองเพื่อนสนิท วันเดียวยอดวิว 2.4 ล้าน(คลิป). สืบค้นจาก https://www.khaosod.co.th/entertainment/news_261860
จิราภรณ์ ตั้งกิตติภาภรณ์. (2557). จิตวิทยาทั่วไป. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
บีบีซีนิวส์ไทย. (2561). [ออนไลน์].3 สมาคมสื่อเรียกร้องให้ยกเลิกคำสั่ง คสช. คุมสื่อ 3 ฉบับ. สืบจาก https://www.bbc.com/thai/thailand-43986594
ประชาชาติธุรกิจ. (2560, 28 มิถุนายน). [ออนไลน์]. 2017 ปีทองฝังเพชร "ละครเกย์" ครองจอ! ชิงเรตติ้งทีวีดิจิทัล มาทั้งดอกไม้-ก้อนอิฐ. สืบค้นจาก http://m.prachachat.net/news_detail.php?newsid=1498656794
ประภาภูมิ เอี่ยมสม. (2559, 25 กรกฎาคม). [ออนไลน์]. เลสเบี้ยนใน Pop Culture ไทยอยู่ตรงไหน? สืบค้นจาก http://www.voicetv.co.th/blog/392799.html
มหาวิทยาลัยราชภัฏอุตรดิตถ์. (2556). รายงานผลการศึกษาและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับแนวทางและกลไกการกำกับดูแลที่เหมาะสมสำหรับประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร : คณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ (กสทช.)
มูลนิธิสื่อมวลชนศึกษา. (2560). [ออนไลน์]. การโฆษณาผลิตภัณฑ์อาหารและเครื่องดื่มในช่วงเวลารายการสำหรับเด็กและเยาวชน.สืบค้นจาก http://mediamonitor.in.th
มูลนิธิสื่อมวลชนศึกษา. (2558). [ออนไลน์]. จริยธรรมสื่อโทรทัศน์กับผลกระทบต่อพัฒนาการของเด็ก: ศึกษาเปรียบเทียบโทรทัศน์ดิจิตอลช่องที่ได้รับความนิยมช่วง ตุลาคม 2557 และ มกราคม 2558. สืบค้นจาก http://mediamonitor.in.th
มูลนิธิสื่อมวลชนศึกษา. (2557). [ออนไลน์]. การศึกษาวิเคราะห์ผังและเนื้อหารายการเดือนตุลาคม 2557 ของโทรทัศน์ดิจิตอลช่องทั่วไปแบบความคมชัดสูง. สืบค้นเมื่อ 14 เมษายน 2560. จาก http://mediamonitor.in.th
ราชกิจจานุเบกษา. (2556). [ออนไลน์]. ประกาศคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการประมูลคลื่นความถี่เพื่อให้บริการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล ประเภทบริการทางธุรกิจระดับชาติ พ.ศ. 2556. สืบค้นจาก https://broadcast.nbtc.go.th/data/document/law/doc/th/560800000001.pdf
รจิตลักษณ์ แสงอุไร. (2559). วารสารสนเทศโลกาภิวัฒน์. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมเกียรติ เหลืองศักดิ์ชัย. (2553). โทรทัศน์อินเทอร์เน็ตกับการบริโภคสื่อใหม่ในยุคสังคมข่าวสาร. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยหอการค้าไทย, 30(2) : 127
สมสุข หินวิมาน และคนอื่นๆ . (2558). ธุรกิจสื่อสารมวลชน.กรุงเทพมหานคร : พิมพ์ดีการพิมพ์.
สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย. (2555, 7 พฤศจิกายน). [ออนไลน์]. ระเบียบ สมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทยว่าด้วยจริยธรรมแห่งวิชาชีพของสมาชิกสมาคมนักข่าววิทยุและโทรทัศน์ไทย พ.ศ. 2555 (แก้ไขเพิ่มเติม เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2555). สืบค้นจาก http://www.thaibja.org/?page_id=61
สำนักข่าวอิศรา. (2560, 25 เมษายน). [ออนไลน์]. ชะตากรรมทีวี-โครงข่ายดาวเทียมและเคเบิลท้องถิ่น หลังคำสั่ง มาตรา44. สืบค้นจาก https://www.isranews.org/isranews/54982-b180360.html
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. ประมวลกฎหมายอาญา พ.ศ. 2499. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb06/%bb06-20-9999-update.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชกฤษฎีกาให้ใช้บทบัญญัติบรรพ 1 แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ที่ได้ตรวจชําระใหม่ พ.ศ. 2535. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law4/%bb03/%bb03-20-9999-update.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติการประกอบกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์ พ.ศ. 2531. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%a1129/%a1129-20-2551-a0001.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้บริโภค พ.ศ. 2522 แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. 2541. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%a434/%a434-20-9999-update.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติเครื่องสำอาง พ.ศ. 2558. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%a446/%a446-20-2558-a0001.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติยา พ.ศ. 2510. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%c204/%c204-20-9999-update.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. พระราชบัญญัติอาหาร พ.ศ. 2522. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law2/%cd08/%cd08-20-9999-update.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา. (2560). [ออนไลน์]. รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560. สืบค้นจาก http://web.krisdika.go.th/data/law/law1/%c306/%c306-10-2560-a0003.pdf
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2560). [ออนไลน์].
ช่องรายการโทรทัศน์ในระบบดิจิตอล. สืบค้นจาก https://broadcast.nbtc.go.th/TVDigital
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2560). [ออนไลน์]. ประวัติสำนักงาน กสทช. สืบค้นจาก https://www.nbtc.go.th/About/history3.aspx?lang=th-th
สำนักส่งเสริมการแข่งขันและกำกับดูแลกันเอง. (2557). คู่มือจริยธรรมและการกำกับดูแลกันเองในกิจการกระจายเสียงและกิจการโทรทัศน์. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2018-12-26