การควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารด้วยเทคโนโลยีระบุตัวตน แบบคลื่นวิทยุเชื่อมโยงสรรพสิ่ง
คำสำคัญ:
การควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้า, การระบุตัวตนด้วยคลื่นความถี่วิทยุ, เทคโนโลยีเชื่อมโยงสรรพสิ่งบทคัดย่อ
บทความนี้นำเสนอแนวทางในการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารเพื่อให้เกิดประสิทธิภาพการใช้งานด้านพลังงาน อย่างคุ้มค่า ด้วยการบูรณาการเทคโนโลยีการระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุเชื่อมโยงสรรพสิ่ง เป็นการนำเทคโนโลยี RFID และ Internet of Things มาใช้งานสำหรับการจัดการอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคาร โดยสถาปัตยกรรมการควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารด้วยเทคโนโลยีการระบุตัวตนด้วยคลื่นวิทยุเชื่อมโยงสรรพสิ่ง แบ่งออกเป็น 3 เลเยอร์ ได้แก่ เลเยอร์ฮาร์ดแวร์ (Hardware Layer) ประกอบด้วยอุปกรณ์สมาร์ตในสำนักงาน เลเยอร์การสื่อสาร (Communication Layer) ประกอบด้วย RFID Reader, เซิร์ฟเวอร์ ฐานข้อมูลบนคลาวด์ และเลเยอร์ซอฟต์แวร์ (Software Layer) ซึ่งทำให้การควบคุมอุปกรณ์ไฟฟ้าภายในอาคารเกิดการประหยัดพลังงาน และการใช้งาน
อย่างมีประสิทธิภาพ
References
กิติเชษฐ์ นนทะสุด. (2560). การสร้างระบบควบคุมการใช้พลังงานไฟฟ้าภายในห้องสำนักงานอัตโนมัติโดยการใช้เทคโนโลยีการบ่งชี้เฉพาะด้วยคลื่นความถี่วิทยุ. มหาวิทยาลัยอิสเทิร์นเอเชีย ฉบับวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี, 11(2), 181-190.
โปรซอฟท์ เว็บ. (2561). Internet of Things (IoT) คคืออะไร มาหาคำตอบกัน. สืบค้นจาก https://blog.sogoodweb.com/Article/Detail/59554
วันเพ็ญ ผลิศร. (2559). การบริหารวิทยาเขตอัจฉริยะ ด้วยอินเทอร์เน็ตสำหรับสรรพสิ่ง. วารสารอาชีวะและเทคนิคศึกษา. 6(11), 39-51.
สถาบันส่งเสริมความเป็นเลิศทางเทคโนโลยีอาร์เอฟไอดีแห่งประเทศไทย. (2560). [ออนไลน์]. องค์ประกอบของ RFID. สืบค้นจาก https://bit.ly/2UtUs11
สำนักงานคณะกรรมการกิจการกระจายเสียง กิจการโทรทัศน์ และกิจการโทรคมนาคมแห่งชาติ. (2560). เทคโนโลยี Internet of Things และนโยบาย Thailand 4.0. สืบค้นจาก https://bit.ly/2DmtPoW
สำนักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). [ออนไลน์]. แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. สืบค้นจาก https://www.nesdb.go.th/ewt_dl_link.php?nid=6422
สุชัชวีร์ สุวรรณสวัสดิ์. (2559). [ออนไลน์]. ตึกอัจฉริยะ ! โดย นายก วสท. สืบค้นจาก http://eitprblog.blogspot.com/2015/02/blog-post_16.html
โอฬาร เชี่ยวชาญ และอนุกิจ เสาร์แก้ว. (2560). การบูรณาการประยุกต์ใช้ RFID (Radio Frequency Identification) และ IoT (Internet of thing) ผ่านระบบคลาวด์ (Cloud Computing) สาหรับการจัดการโลจิสติกส์. วารสารวิชาการคณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 10(2), 109-119
ITU. (2012). [Online]. Measuring the Information Society. https://www.itu.int/en/ITU-D/Statistics/ Documents/publications/mis2012/MIS2012_without_Annex_4.pdf
NECTEC. (2559). NETPIE: Internet of Things. สืบค้นจาก bit.ly/2O51l9O
Tech Talk Thai. (2560). บทวิเคราะห์ องค์กรไทยควรมอง Internet of Things ในการลงทุนเพื่อการเติบโตของธุรกิจอย่างไรบ้าง. สืบค้นจาก bit.ly/1TOejEf
Veedvil. (2558). ทำความเข้าใจเรื่อง Internet of Things (IoT) เทรนด์ที่หลายคนกำลังพูดถึง. สืบค้น จาก www.veedvil. com/news/internet-of-things-iot
Wiboonyasake, M., (2009). Internet of Things หรือ IoT คืออะไร. [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.aware.co.th/iot-คืออะไร/
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร
วารสารเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มทร.พระนคร อยู่ภายใต้การอนุญาต Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License. (CC BY-Nc-ND 4.0) เว้นแต่จะระบุไว้เป็นอย่างอื่น โปรดอ่านหน้านโยบายของเราสำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับการเข้าถึงแบบปิด ลิขสิทธิ์ และการอนุญาต