แนวทางการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนในสื่อมวลชนและสื่ออื่นๆ

ผู้แต่ง

  • อภิญญ์พัทร์ กุสิยารังสิทธิ์ สาขาวิชาเทคโนโลยีการโฆษณาและประชาสัมพันธ์ คณะเทคโนโลยีสื่อสารมวลชน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร

คำสำคัญ:

การสื่อสารแบบมีส่วนร่วม, อัตลักษณ์ชุมชน, สื่อมวลชน

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้มุ่งนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับแนวทางการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมเพื่อการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนในสื่อมวลชน และสื่ออื่นๆ ที่มีหลากหลายวิธีการ ได้แก่ การสื่อสารผ่านวาทกรรมประเภทต่างๆ การสื่อสารผ่านสื่อมวลชน รวมถึงการสื่อสารผ่านสื่ออื่นๆ โดยศึกษาสื่อกิจกรรมถนนคนเดิน และโปสการ์ด ที่สามารถสะท้อนอัตลักษณ์ที่สำคัญของแต่ละชุมชนได้เป็นอย่างดี สำหรับเนื้อหาในการนำเสนอมุ่งเน้นการนำเสนอด้านประเพณีของชุมชน การเชิญปราชญ์ชาวบ้านมานำเสนอองค์ความรู้ ภูมิปัญญาท้องถิ่น ผ่านสื่อชุมชนที่สะท้อนอัตลักษณ์ที่แท้จริงของชุมชนผ่านการสื่อสารแบบมีส่วนร่วมของประชาชนในท้องที่ รวมถึงการสร้างความเข้าใจในทุกภาคส่วนของชุมชน คือ ภาครัฐ ภาคเศรษฐกิจ ภาคสังคม และภาคการท่องเที่ยว

References

กฤษณ์ ทองเลิศ และนฤนาถ ไกรนรา. (2553). การสื่อสารอัตลักษณ์ชุมชนปายผ่านสื่อโปสต์การ์ด. วารสารนิเทศศาสตร์ มสธ. 1(2): 1-12.
กาญจนา แก้วเทพ. (2557). ศาสตร์แห่งสื่อและวัฒนธรรมศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ. (2552). สื่อเล็กๆ ที่น่าใช้ในงานพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ภาพพิมพ์.
กาญจนา แก้วเทพ และคณะ. (2543). สื่อเพื่อชุมชนการประมวลองค์ความรู้. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
จรรยา เหลียวตระกูล และคณะ (2559). งานวิจัยเรื่อง การสืบทอดอัตลักษณ์ชาวไทยเชื้อสายจีนที่สะท้อนผ่านประเพณีตรุษจีนปากน้ำโพ จังหวัดนครสวรรค์ ในรอบหนึ่งศตวรรษ. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์. 10(1): 11-38.
จินตนา แปบดิบ. (2556). [ออนไลน์]. วาทกรรมอัตลักษณ์ไทใหญ่ชุมชนบ้านเมาะหลวง ตำบลแม่เมาะ อำเภอแม่เมาะจังหวัดลำปาง. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา. 1(2), สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2560 จาก http://journal.up.ac.th/files/journal_issue_list/2212_63.pdf
จิราพร ขุนศรี. (2557). การสื่อสารกับการปรับตัวเพื่อสืบทอดวัฒนธรรมทัองถิ่น: ศึกษากรณีสื่อพื้นบ้านเพลงซอล้านนาในบริบทของจังหวัดเชียงราย. ดุษฎีนิพนธ์นิเทศศาสตรดุษฎีบัณฑิต, คณะนิเทศศาสตร์, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ชมของจริง“สันติ (ที่ทำให้มองเห็น) ภาพ” ได้ทาง“ทีวีชุมชน” ช่องทางสื่อสารใหม่ที่ชาวบ้านทำเองได้. [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 7 มิถุนายน 2560 จาก http://www.deepsouthwatch.org/dsj/th/6879
นิลิณี หนูพินิจ. (2551). ภาพยนตร์ไทยกับการสร้างอัตลักษณ์ชุมชนภาคใต้. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตร มหาบัณฑิต (สื่อสารมวลชน), มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
นุชจรินทร ทับทิม. (2553). การสื่อสารอัตลักษณของชุมชนบานวัวลายจังหวัดเชียงใหมผานกิจกรรมถนนคนเดิน. การค้นคว้าอิสระศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการสื่อสารศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
พวงชมพู ไชยอาลา และแสงรุง เรืองโรจน. (2559). การศึกษาอัตลักษณและการสื่อสารเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวชุมชนบานสระบัว. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม (มนุษยศาสตรและสังคมศาสตร). 10(3): 121-136.
พิสุทธิลักษณ์ บุญโต. (2560). [ออนไลน์]. การสื่อสารอัตลักษณ์ผ่านผ้าซิ่นของกลุ่มชาติพันธุ์ไทดำในพื้นที่อำเภอเชียงคาน จังหวัดเลย ประเทศไทย และแขวงหลวงน้ำทา ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. สืบค้นจาก https://www.researchgate.net/publication/301285917_karsuxsarxat laksnphanphasinkhxngklumchatiphanthuthidaniphunthixaphexcheiyngkhan_canghwadley_prathesthiy_laeakhaewnghlwngnatha_prathessatharnrathprachathiptiyprachachnlaw_Communicating_Identity_of_Tai_
พูลสมบัติ นามหล้า. (2009). [ออนไลน์]. วิทยุชุมชน: การมีส่วนร่วมของประชาชนในสื่อเพื่อชีวิตและสังคมท้องถิ่น. สืบค้นจาก https://prachatai.com/journal/2009/06/24613
แฟนเพจเฟซบุ๊กพะเยาทีวี ทีวีชุมชน. (2560). [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/phayaotv/
แฟนเพจเฟซบุ๊กสมาคมสื่อชุมชนภาคใต้นครศรีธรรมราช. (2560). [ออนไลน์]. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/anonscma/
สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน (องค์การมหาชน). (2016). [ออนไลน์]. ทีวีชุมชนขยับแล้ว ! กสทช.อนุมัติ 3 โครงการนำร่อง เริ่มที่พะเยา-อุบลฯ –อันดามัน. สืบค้นจาก http://www.codi.or.th/index.php/public-relations/news/15165-3-7
สำนักข่าวอิศรา. (2558, 23 มกราคม). [ออนไลน์]. ถกอนาคต "สื่อชุมชน" อยู่ได้... แต่ลำบาก. สืบค้นเมื่อ 19 กรกฎาคม 2560 จาก https://www.isranews.org/isranews/36028-media_580123.html
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2559). ทฤษฎีสื่อสารมวลชน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร: ระเบียงทอง.
อินทิรา พงษ์นาค. (2557). อัตลักษณ์ชุมชนเมืองโบราณอู่ทองเพื่อพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมจังหวัดสุพรรณบุรี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการทางวัฒนธรรม, บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Identity. Merriem-Webster Dictionary. [online]. Retrieved June, 6th, 2016. from https://www.merriam-webster.com/dictionary/identity
TRF TV. (2560). [ออนไลน์]. คลื่นอนาคต ตอน สื่อชุมชนแนวทางแห่งการพัฒนาท้องถิ่น. สืบค้นจาก http://tv.trf.or.th/index.php/2014-01-22-10-12-19/832-2015-05-06-04-00-00

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-26