การสร้างอัตลักษณ์บุคคลในสื่ออินสตาแกรม

ผู้แต่ง

  • เกศินี บัวดิศ สาขาวิชาการโฆษณาและการประชาสัมพันธ์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา

คำสำคัญ:

อัตลักษณ์, สื่อออนไลน์, อินสตาแกรม

บทคัดย่อ

สังคมของการสื่อสารในโลกดิจิทัลกับกระแสความนิยม การสร้างตัวตนในสังคม ในบริบทต่างๆ ของความเคลื่อนไหวของข่าวสารในสังคมไปอย่างรวดเร็วจนทำให้เกิดสื่อใหม่ จากเทคโนโลยีในยุคดิจิทัล การรับรู้ข่าวสารในชีวิตประจำวัน วิธีการสื่อสารในโลกโซเชียลอย่างสื่ออินสตาแกรม ส่วนหนึ่งกลายเป็นธุรกิจในโลกตลาดออนไลน์ ในบทความทางวิชาการนี้ จึงมุ่งเน้นนำเสนอเรื่องราวการสร้าง “ตัวตนในสังคม” สามารถสร้างโดดเด่นของตัวบุคคลจนกลายเป็นตัวตนในโลกออนไลน์ได้ ผู้เขียนนำเสนอประเด็นที่น่าสนใจการสื่อสารที่เชื่อมโลกของข่าวสาร ได้แก่ 1) ความแตกต่างของบุคคล 2) การเรียนรู้ ตัวตนในโลกโซเชียล หรือการยอบรับจากคนในโซเชียล การรู้จักและการสร้างสัมพันธ์ที่ดี ระหว่างเพื่อนร่วมโลกต่างภาษา ต่างวัฒนธรรม และการก่อตัวจนกลายเป็นมิติหนึ่งที่สังคมยอมรับตัวตน 3) ทฤษฎีอัตลักษณ์ตัวตน และ 4) งานวิจัยที่สอดคล้องกับการนำประยุกต์เอาการสื่อสารมาใช้ในกรอบชีวิตประจำวัน

References

เขมทัต พิพิธนาบรรพ์. (2551). การแต่งคอสเพลย์ของกลุ่มวัยรุ่นไทยกับการสร้างอัตลักษณ์วัฒนธรรมย่อยและบทบาทของสื่อ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เคนเน็ต แอล. ฮิกบี (2538). ความจำ. แปลโดย กิติกร มีทรัพย์ และกาญจนา คำสุวรรณ. กรุงเทพมหานคร: สมิต.
จตุรวิทย์ ทองเมือง. (2551). ชีวิตของคนที่มีความหลากหลายทางเพศในชุมชนเสมือนจริง. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ชนรรญ์พร ศฤงคารนนท์. (2552). ภาพลักษณ์ของนักร้องเกาหลีในการสร้างอัตลักษณ์ร่วมของวัยรุ่นไทย: ศึกษากรณี WWW.TVXQ-DREAMLAND.COM. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2556). อัตลักษณ์ วัฒนธรรม และการเปลี่ยนแปลง. สืบค้นจาก URL: http://www.soc.cmu.ac.th/~wsc/data/Identity28_3_05.pdf.
ณฐพงศ์ จิตรนิรัตน์. (2548). รหัสชุมชน: พื้นที่ อัตลักษณ์ ภาพแทนความจริงและหลังสมัยใหม่. สงขลา: มหาวิทยาลัยทักษิณ.
ธวัชชัย สุขสีดา. (2563). การสร้างอัตลักษณ์ในสื่อโซเชียลมีเดียของวัยรุ่น คณะนิเทศศาสตร์มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์ กรุงเทพ. สืบค้นจาก URL: https://blog.dpu.ac.th/ajtonrak/index.php/2019/07/08/digitalhuman/
ประวีณา ธาดาพรหม. (2550). ภาพลักษณ์ทางร่างกาย และการเห็นคุณค่าในตนเองของวัยรุ่นที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐาน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ประสิทธิ์ ลีปรีชา. (2547). การสร้างและสืบทอดอัตลักษณ์ของกลุ่มชาติพันธ์มงในวาทกรรมอัตลักษณ์.กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮ้าส.
ปริตตา เฉลิมเผ่า กออนันตกูล. (2545). คนใน: ประสบการณ์ภาคสนานของนักมานุษยวิทยาไทย. กรุงเทพมหานคร : ศูนย์มานุษวิทยาสิริธร (องค์การมหาชน).
พรทิพย์ ซังธาดา. (2538). วรรณกรรมท้องถิ่น. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพมหานคร : สุวีริยาสาส์น.
ยุรฉัตร บุญสนิท. (2546). อัตลักษณ์ คือ. สืบค้นจาก URL: http://www.etheses.rbru.ac.th/pdf-uploads/allfile-202-file01-2016-03-10-09-32-36.pdf.
ศรีเรือน แก้วกังวาล. (2540). จิตวิทยาพัฒนา. พิมพ์ครั้งที่ 4. กรุงเทพมหานคร: ประกายพรึก.
สมร ทองดี. (2542). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพฤติกรรมมนุษย์. นนทบุรี : มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สุภาณี ยาตรา. (2548). การแสดงอัตลักษณ์ทางเพศสภาพของกลุ่มหญิงรักหญิงผ่านสื่อเว็บไซต์ใน สังคมไทย. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สถิต วงศ์สวรรค์. (2544). การพัฒนาบุคลิกภาพ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: รวมสาส์น
สวิชญา ชมพูพัชร. (2561). ดังจนซุป'ตาร์อาย! “พิมฐา” สาวไทยผู้ทรงอิทธิพลมากสุดในเอเชีย. ผู้จัดการออนไลน์. สืบค้นจาก URL: https://mgronline.com/live/detail/9610000113421
อรวรรณ ปิลันธน์โอวาท. (2549). การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจ (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
โอห์ม สุขศรี. (2550). การสื่อสารผ่านเว็บไซต์กับการสร้างอัตลักษณ์และสัญญะของกลุ่มแฟนคลับฟุตบอลต่างประเทศ กรณีศึกษา : เรดอาร์มีแฟนคลับ. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์สารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
อภิญญา เฟื้องฟูสกุล. (2546). การทบทวนทฤษฎี และกรอบแนวคิด. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ.
Bullingham, L., and Vasconcelos, A. C. (2013). The presentation of self in the online world: Goffman and the study of online identities. Journal of Information Science. 39(1), 101-112.
Code, J., and Zaparyniuk, N. (2010). Social identities, group formation, and analysis of online communities. In S. Dasgupta (Ed.), Social computing: Concepts, methodologies, tools, and applications. New York, NY: IGI. (1346–1361).
Daniel Miller และคณะ. (2562). Why We Post: ส่องวัฒนธรรมโซเชียลมีเดีย (ฉบับย่อ). แปลโดย ฐณฐ จินดานนท์. สืบค้นจาก URL: https://bookscape.co/why-we-post-summary
Donath, J. and d. boyd. (2004). Public displays of connection. BT Technology Journal. 22(4), 71­82.
Liu H. (2008). Social Network Profiles as Taste Performances. Journal of Computer-Mediated Communication. 13(1), 252-275.
Marketingoops. (2561). 4 วิธีเพิ่ม Engagement ให้ดีใน Social Media Marketing. สืบค้นจาก URL: https://www.marketingoops.com/exclusive/how-to/4-way-to-increase-engagement-social-media-marketing/
Marketingoops. (2561). เจาะลึกพฤติกรรมการใช้อินเตอร์เน็ตของ คนไทย ม.ค. 2018 แบบละเอียดยิบ. สืบค้นจาก URL: https://www.marketingoops.com/reports/behaviors/thailand-digital-in-2018/.
Techoffside. (2561). #2019Bestnine รวม 9 ภาพ Instagram Bestnine ที่ปังสุดในรอบปีให้ในคลิ๊กเดียว. สืบค้นจาก URL: https://www.techoffside.com/2019/12/2019bestnine-instagram-bestnine/
Tellscore. (2562). สร้างตัวตนให้ปังในวงการ Influencer ด้วย Personal Branding. สืบค้นจาก URL: https://th.tellscore.com/th/Blog/Detail/Personal-Branding/
The Editors Society. (2017). Influence Asia 2017 งานประกาศผลรางวัลโซเชียลมีเดียครั้งใหญ่ที่สุดของเอเชีย. สืบค้นจาก URL: http://www.theeditorssociety.com/2016/2017/05/05/influence-asia-2017/.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-06-26